สุภาพร’s scientific contributions

What is this page?


This page lists works of an author who doesn't have a ResearchGate profile or hasn't added the works to their profile yet. It is automatically generated from public (personal) data to further our legitimate goal of comprehensive and accurate scientific recordkeeping. If you are this author and want this page removed, please let us know.

Publications (42)


Library 2.0
  • Article

January 2011

·

63 Reads

สุภาพร

·

ชัยธัมมะปกรณ์

·

supapornc@nstda.or.th

·

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จาก Web 2.0 ก้าวสู่ Library 2.0 Library 2.0 หรือ L2 คืออะไร ความน่าสนใจและประโยชน์ของการประยุกต์ Web 2.0 กับห้องสมุด โดยเฉพาะกับผู้ใช้บริการ ตลอดจนเครื่องมือที่เกี่ยวข้อง โอกาสและความท้าทายของบรรณารักษ์


Web 2.0 & Library 2.0 ทางเลือกใหม่ในการร่วมสร้างสรรค์ แบ่งปัน ความรู้ผ่าน Social Networking

66 Reads

·

อรุณพิบูลย์

·

boonlert@nstda.or.th

·

[...]

·

supapornc@nstda.or.th

นำเสนอเทคโนโลยี Web 2.0 เพื่อเป็นเครื่องมือให้กับห้องสมุดในการพัฒนาการให้บริการห้องสมุดเป็น Library 2.0 โดยใช้แนวทางของ Web 2.0 ในการร่วมแบ่งปัน ร่วมสร้างสรรค์ ผ่าน Social Network


การลงรายการแบบมาร์ค

118 Reads

เป็นสื่อนำเสนอเพื่อใช้ในการเรียนการสอนวิชาการลงรายการแบบมาร์ค สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี โดยในสื่อนำเสนอชุดนี้ เป็นชุดแรก ครอบคลุมขอบเขตของงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ของงานและความจำเป็นในการใช้การลงรายการทางบรรณานุกรมแบบมาร์ค 21 ซึ่งเป็นการลงรายการที่เป็นมาตรฐาน พร้อมทั้งตัวอย่างประกอบเพื่อให้เข้าใจการลงรายการทางบรรณานุกรม 1 ระเบียนจะประกอบด้วยเขตข้อมูลใดบ้าง และองค์ประกอบของมาร์ค 21


โปรแกรมดีสเปซ : คลังเอกสารดิจิทัลสถาบัน

357 Reads

โปรแกรมดีสเปซ (DSpace) เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับการจัดการเก็บเอกสารดิจิทัลสถาบัน สร้างขึ้นมาเพื่อรองรับวัตถุประสงค์ของการเป็นคลังเก็บงานวิจัย ผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งแมสซาซูเซตต์ (MIT)โดยในสื่อนำเสนอนี้ประกอบด้วย คุณลักษณะของความเป็น IR หรือ Institutional repository และโปรแกรมดีสเปซ ในการเป็นคลังเก็บ IR หน้าที่การทำงานต่าง ๆ ทั้งในด้านการเป็น archive การสงวนรักษา และเป็นสนับสนุนตัวบ่งชี้ถาวรดิจิทัล แม้ว่าจะเป็นโปรแกรมที่ต้องอาศัยความเป็นผู้บริหารระบบอย่างสูง แต่เป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมในการใช้ในมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ทั่วโลก


ดีสเปซ : โปรแกรมจัดการคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน

146 Reads

เสนอประวัติ ลักษณะการทำงาน และหน้าที่ในด้านต่างๆ ของโปรแกรมดีสเปซ ที่สามารถนำมาทำหน้าที่เป็นคลังเก็บสารสนเทศดิจิทัลซึ่งเป็นผลงานทางวิชาการของมหาวิทยาลัย สถาบัน องค์กร โดยดีสเปซเป็นโปรแกรมที่พัฒนาโดยห้องสมุดแห่งมหาวิทยาลัยแมสซาซูเซตต์ (MIT) และห้องปฏิบัติการฮิวเล็ตต์แพคการ์ด พัฒนาเพื่อแก้ปัญหาการเก็บรักษาผลงานวิจัยของคณาจารย์และนักวิจัยของ MIT โดยการนำผลงานมาจัดเก็บที่คลังเก็บ เพื่อที่จะได้เผยแพร่ได้มากกว่าเดิม เข้าถึงได้ตลอดเวลา และจัดเก็บแบบถาวรแต่อยู่บนพื้นฐานที่ใช้งานง่าย และด้วยความเป็นโอเพนซอร์ส จึงสามารถพัฒนา ขยายและปรับปรุงเพื่อใช้งานในอนาคตได้อีก



Folksonomies

29 Reads

กล่าวถึง ลักษณะของ Social tagging ที่เข้ามามีบทบาทในกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตยุคเว็บ 2.0 ที่เน้นให้ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการสร้างเนื้อหา กำหนดคำสำคัญด้วยตนเอง โดยใช้ tag เป็นตัวกำหนด บทบาทนี้เน้นให้เห็นถึงข้อดี ข้อเด่นของ Folksonomies จนกลายเป็นผลเสีย การจัดระเบียบของระบบ tag


Metadata ตอนที่ 1

16 Reads

เป็นสือนำเสนอประกอบฝึกอบรมของศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง Metadata ระหว่างวันที่่ 13-15 มิถุนายน 2550 เป็นสไลด์นำเสนอเมทาดาทา ตั้งแต่ คำจำกัดความ ประเภทของเมทาดาทา ได้แก่ Administrative metadata, Descriptive metadata, และ Structural metadata


Creative commons กับการประยุกต์ใช้งาน

22 Reads

นำเสนอในหัวข้อเรื่อง Creative Commons และลิขสิทธิ์ประเภทอื่นๆ ในหลักสูตรการใช้งาน MediaWiki ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2551 เสนอความเป็นมาของการมี Creative commons เกิดขึ้นเพื่อใช้ในเรื่องลิขสิทธิ์ การประกาศ cc ในภาพ และการอ้างอิง


พรบ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550

25 Reads

บรรยายร่วมกับ ดร. กริชผกา บุญเฟื่อง เมื่อครั้งยังสังกัดอยู่ที่สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี ในงานสัมมนา IT Update 2007 วันที่ 6 กันยายน 2550 ในหัวข้อ "พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 : เรื่องควรรู้สำหรับผู้ใช้ไอทีทุกคน" ณ ห้องประุชุม N101 ตึกชีววิทยาใหม่ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ Stang Mongkolsuk Learning Center (P114) ชั้น 1 ตึกฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล นำเสนอเรื่อง พรบ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 กล่าวถึง สาเหตุที่ต้องมีพระราชบัญญัติ การจำแนกความผิดในแต่ละมาตราของผู้ให้บริการที่ควรพึงระวัง และคำแนะนำผู้ใช้บริการในการป้องกันการก่อให้เกิดการกระำทำความผิด