ArticlePDF Available

Effects of Benjakul and ginger (Zingiiber officinale Roscoe) on blood hematology and microbial populations in broilers

Authors:
  • Chiangmai Rajabhat University, Chiangmai
KHON KAEN AGR. J. 39 SUPPLMENT : 251-255 (2011).
251
ผลของสมุนไพรเบญจกูล และขิง ตอคาทางโลหิตวิทยา และจํานวนจุลินทรียในไกเนื้อ
Effects of Benjakul and ginger (Zingiiber officinale Roscoe) on blood hematology and
microbial populations in broilers
รังสรรค แตงโสภา, วีระวุฒิ พรมดี, สาธิต บุญอาจ และมานะ สุภาดี,
วิศิษย เกตุปญญาพงศ และ กุลิสรา มรุปณฑธร*
Rangsan Tangsopa, Weerawut Phoomdee, Sathit Boonarj,
Mana Suphadee, Wisit Ketpanyapong and Kulisara Marupanthorn*
บทคัดยอ: การศึกษาผลของการเสริมสมุนไพรเบญจกูล ขิง และยาปฏิชีวนะอะม็อกซีซิลลินในอาหาร ตอคาทางโลหิตวิทยา และ
การติดเชื้อแบคทีเรียที่สําคัญในไกเนื้ออายุ 1 วัน จํานวน 160 ตัว แบงเปน 4 กลุม กลุมละ 4 ซ้ํา ไดแก กลุมควบคุม กลุมเสริมยา
ปฏิชีวนะอะม็อกซีซิลลิน 0.05 กรัม/อาหาร 1 กิโลกรัม กลุมเสริมสมุนไพรเบญจกูลในอาหาร 0.5 กรัม/อาหาร 1 กิโลกรัม และ
กลุมเสริมขิงในอาหาร 0.5 กรัม/อาหาร 1 กิโลกรัม สุมเก็บตัวอยางเลือด ลําไส และตับของไกเนื้อ อายุ 35 วัน จํานวน 2 ตัว/ซ้ํา
เพื่อตรวจคาทางโลหิตวิทยา และเพาะเชื้อแบคทีเรีย ผลการศึกษาพบวา ไกเนื้อที่กินอาหารเสริมขิงมีปริมาณฮีโมโกลบิน และเม็ด
เลือดขาวชนิดเฮตเตอรโรฟลเพิ่มขึ้น (P<0.01) และพบจํานวนเชื้อ อี.โคไลที่ลําไส และซัลโมเนลลาที่ตับนอยลงเมื่อเทียบกับกลุม
ควบคุม (P<0.05) ไกเนื้อที่กินอาหารเสริมสมุนไพรเบญจกูลมีจํานวนเม็ดเลือดแดง คาเม็ดเลือดแดงอัดแนน จํานวนเม็ดเลือดขาว
ชนิดเบโซฟล และลิมโฟไซตเพิ่มขึ้น (P<0.01) แตไมมีผลตอจํานวนเชื้อ อี.โคไลที่ลําไส และเชื้อซัลโมเนลลาที่ตับ และไกเนื้อที่
กินอาหารเสริมยาปฏิชีวนะอะม็อกซีซิลลิน มีจํานวนเม็ดเลือดแดง ปริมาณฮีโมโกลบิน คาเม็ดเลือดแดงอัดแนน และจํานวนเม็ด
เลือดขาวชนิดโมโนไซตลดลง (P<0.01)
คําสําคัญ: สมุนไพรเบญจกูล ขิง อะม็อกซีซิลลิน คาทางโลหิตวิทยา ไกเนื้อ
Abstract: This study was conducted to investigate the effect of dietary supplementation with Benjakul, ginger (Zingiiber
officinale Roscoe) and amoxicillin on the hematological parameters and important bacterial infection in broilers. A total
number of 160 one-day-old broiler chicks were randomly allocated to receive four dietary treatments with four replicates. The
dietary treatments consisted of the basal diet as control, 0.05 g/kg amoxicillin, 0.5 g/kg Benjakul, and 0.5 g/kg ginger added to
the basal diet. At 35 days, two birds per replicate were slaughtered for determination of carcass and bacterial culture. At 35
days blood samples (2 samples per treatment) were taken for hematological analysis. Supplementing 0.5 g/kg ginger increased
สาขาวิชาสัตวศาสตร คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ, จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา 13000
Department of Animal Sciences, Faculty of Agricultural Technology and Agro-industry, Rajamangala University of
Technology Suvarnabhumi, Ayutthaya 13000
*Corresponding author: pook_vet63@hotmail.com
KHON KAEN AGR. J. 39 SUPPLMENT : 251-255 (2011).
แก่นเกษตร 39 ฉบับพิเศษ : 251-255 (2554).
,
แก่นเกษตร 39 ฉบับพิเศษ : 251-255 (2554).252
hemoglobin concentration and number of heterophil of broilers at 35 days of age (P<0.01) and decreased number of
Escherichia coli in small intestine and Salmonella spp. in liver of broilers compared to the control (P<0.05). Broilers fed with
0.5 g/kg Benjakul resulted in significantly increase red blood cell count, hematocrit percentage, basophil and lymphocyte
(P<0.01), but it had no significant effect on the number of Escherichia coli in small intestine and Salmonella spp. in liver of
broilers. The number of Salmonella spp. in liver of broilers was not significantly influenced by supplementing 0.05 g/kg
amoxicillin. Amoxicillin supplementation also caused a marked (P<0.01) increase in the red blood cell count, hemoglobin
concentration, hematocrit percentage and number of monocyte but other immune related hematology parameters were not
statistically effected.
Key words: Benjakul, ginger (Zingiiber officinale Roscoe), amoxicillin, blood hematology, broilers
บทนํา
อุตสาหกรรมการเล้ยง ผลิตและสงออกไก
เนื้อ ถือเปนอุตสาหกรรมที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ
ของประเทศไทย แตในปจุบันการผลิสัตวไวเพื่อ
บริโภคในกลุมประเทศยุโรปไดรณรงค ลดการใชยา
ปฏิชีวนะผสมในอาหารใหสัตวกินอยางแพรหลาย โดย
การหามนําเขาไกที่มียาปฏิชีวนะตกคาง ซึ่งกระทบ
โดตอุรรลิกนื้อ พื่
สงออกของประเทศไทยทั้งในวงกวางตอผูเลี้ยงไกเนื้อ
และธุรกิจอื่นๆ ซึ่งมีการแขงขันทางการตลาดในระดับ
โลกคอนขางสูง (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2553)
แตเนื่องจากการเลี้ยงไกเนื้อเชิงอุตสาหกรรม เปนการ
เลี้ยงแบบตอเนื่อง และหนาแนน มีความเสี่ยงตอการ
เกิดโรคคอนขางสูง การใชยาปฏิชีวนะในอุตสาหกรรม
การเลี้ยงกเนื้อจึงเปนเรื่องที่หลีกเลี่ยงดยาก จาก
ปญหาดังกลาวทางเลือกหนึ่งที่นาสนใจ คือ การใชพืช
สมุนไพรในการตานเชื้อและกระตุนระบบภูมิคุมกัน
ของรางกาย ซึ่งสมุนไพรพิกัดเบญจกูล และขิ เปน
ทางเลือกที่นาสนใ นื่องจากเปนสมุนไพรที่มีความ
เผ็ดรอน กระตุนความอยากอาหาร ทําใหกระบวนการ
เมแทบอลิซึม ละระบบไหลเวียนโลหิตทํางานดีขึ้
สมุนไพรพิกัดเบญจกูลประกอบดวยสมุนไพรรสรอ
5 ชนิด คือเหงาขิงแห ผลดีปลี รากเจตมูลเพลิงแด
สะคา และชาพลู นอัตราสวนตางๆ ตามสมมุติฐาน
ของโรค สรคุณชยยอรแทําใหลื
ไหลเวียนสะดวก แกอาการทางระบบทางเดินอาหารให
เปนปกติ บํารุงรางกายใหปกติ (กระทรวงศึกษาธิการ,
2542) ดอกดีปลี รากชาพลู เถาสะคาน รากเจตมูลเพลิ
แดง เหงาขิงแหง ในยาเบญจกุล มีชาพลู ขิ
เปนแอนติออกซิแดนท คือ ตัวยับยั้งการเกิดออกซิเดชัน
ในรางกาย เจตมูลเพลิงแดงมีฤทธิ์ฆาเซลลมะเร็ (สม
พร, 2542) อีกทั้งสมุนไพรสวนใหญ มีน้ํามันหอม
ระเหยที่ชวยในเรื่องการยอยอาหาร ทําใหรย
อาหารและการดูดซึมดียิ่งขึ้น อีกทั้งมีสารชวยยับยั้งการ
เกิดออกซิเชันในรางกาย ทําใหระบบภูมิคุมกันใน
รางกายดียิ่งขึ้น สงผลดีตอการผลิตไกเนื้อดีขึ้นในเรื่อง
อัตราการเจริญเติบโตดียิ่งขึ้น ดการใชสารปฏิชีวนะ
(วิศิษย, 2547) การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผล
ของสมุไพรพิกัดเบญจกู และขิง ตอคาทางโลหิ
วิทย ดยเฉพาะเซลลที่เกี่ยวของกับระบบภูมิคุมกัน
และจํานวนเชื้อแบคทีเรียกอโรคที่สําคัญของไกเนื้
เมื่อเปรียบเทียบกับการใชยาปฏิชีวนะอะม็อกซีซิลลิน
วิธีการศึกษา
ใชกนื้อายุ 1 สัดาห จํ 160 ตั
แบงเปน 4 ลุม กลุละ 4 ซ้ํา ซ้ํา 10 ตั โดยใช
แผนการทดลองแบบสมสมบูรณ ( Completely
Randomized Design: CRD) ใหอาหารสําหรับไกเนื้อ
KHON KAEN AGR. J. 39 SUPPLMENT : 251-255 (2011).
253
แบงปลุคุ หกนื้ติ ลุ
ทดลองที่ 2 ใหอาหารไกเนื้อผสมดวยยาปฏิชีวนะ
อะม็อกซีซิลลิน 0.05 กรัม/อาหาร 1 กิโลกรัม กลุม
ทดลองที่ 3 ใหอาหารไกเนื้อผสมดวยสมุนไพรเบญจ
กูล 0.5 กรัม/อาหาร 1 กิโลกรัม และกลุมทดลองที่ 4 ให
อากเนื้สมมุรขิ 0.5 รั/อาหาร 1
กิโรั ทํวัซีปอกันิวซิล และ
หลอดลมอักเสบที่สัปดาหที่ 2 ของการเลี้ยง และบันทึก
ขอมูลดานสุขภาพทุกวัน เมื่อสิ้นสุดการทดลองทําการ
เก็บตัวอยางเลือด และอวัยวะภายใน นําตัวอยางเลือ
สงตรวจหาคาทางโลหิตวิทยา ดแก ตรวจ complete
blood count (CBC) ประกอบดวยการวัดระดับ
ฮีโมโกลบิน (hemoglobin; Hb) และคาฮีมาโตคริต
(hematocrit) เก็บตัวอยางตับ ลําไสเล็ก และลําไสใหญ
เพื่อสงตรวจหาเชื้อแบคทีเรี อี.คไล (Escherichai
coli) และซัลโมเนลลา (Salmonella spp.)
ผลการศึกษาและวิจารณ
การเสริมสมุนไพรเบญจกูล และขิงในอาหาร
ไกเนื้ มีผลทําใหจําวนม็ดลือดง ะดั
ฮีโมโกลบิน และค ฮีมาโตคริตเพิ่มสูงขึ้น (P<0.01)
ดัง Table 1 เนื่องจากดีปลี ละขิง มีผลตอการเพิ่ม
จํานวนเม็ดเลือดแดง (Olayaki et al., 2007; Trivedi and
Mishra, 2009) แตจํานวนเม็ดเลือดแดง ระดับ
ฮีโมโกลบิน และคาฮีมาโตคริตลดลง (P<0.01) ในไก
นื้ที่กิฏิชีม็ซีซิลิ
สอดคลองกับการรายงานผลขางเคียงที่ทําใหเกิดภาวะ
โลหิตจาง (Rossi et al., 2010)
ไกเนื้อกลุมท่ไดรับอาหารเสริมสมุนไพร
เบญจกูล และขิง มีจํานวเม็ดเลือดขาสูงกวกลุ
ควบคุม (P<0.01) (Table 2) สอดคลองกับผลตอ
ประชากรจุลินทรีย ที่วกนื้ลุที่ดรั
สมุเบกู ละขิ สามารถลดจํานวนเช้อ
แบคทีเรีย E. coli ละซัลโมเนลลาในลําไสได
(P<0.01) (Table 3) เนื่องจากในสมุนไพรเบญจกูล
ประกอบไปดวย ดีปลี สะคาน จตมูลเพลิงแดง ชาพลู
และขิง สวนประกอบเหลานั้นมีสารที่มีฤทธิ์ตานเชื้อ
แบคทีเรียตางๆ คือ ารสกัดของผลดีปลี มีฤทธิ์ตาน
เชื้อ E. coli (Choi et al., 1998) สาร phenylpropanoid
4 ชนิดที่สกัดแยกไดจากใบชาพลู มีฤทธิ์ตานเชื้ E.
coli และ Bacillus subtilis (Toshiya et al., 1991) และ
สารสกัดจากเปลือกตนของสะคา รากเจตมูลเพลิง
แดง ขิมีธิ์ตชื้ทีรีนิ
(Mascolo et al., 1989)
สรุปและขอเสนอแนะ
สมุนไพรเบญจกูลเปนทางเลือกหนึ่งในกา
ชมุพื่ฏิชี นื่
สมุนไพรเบญจกูลมีผลตอการเพิ่มจํานวนของเม็ดเลือด
ขาว และลดจํานวนเชื้อแบคทีเรีย อี.โคไล และซัล
โมเนลลาในลําไสของไกเนื้อ แตไมทําใหจํานวนเม็ด
เลือดแดงของไกเนื้อลดลง
คําขอบคุณ
ผู วิ จั คุ วิ ลั
เทคโนโลยีาชมงคล ละฟารมสัตว สาขาวิชาสัตว
ศาสตรที่เอื้อเฟอสถานที่และ รศ.ดร.อรุณพร อิฐรัตน
คณะแพทยศาสตร มหาวิทยลัยธมศตร ศูย
รังสิต ที่เอื้อเฟอสมุนไพรที่ใชในการทดลอง
เอกสารอางอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. 2542. แพทยศาสตรสงเคราะห:
ูมิปญญาทางการแพทยและมรดกทาง
วรรณกรรมของชาติ. คุรุสภา; กรุงเทพฯ.
วิศิษย เกตุปญญาพงศ. 2547. รายงานการวิจัยการศึกษา
กลุมพิกัดยาสมุนไพรบํารุงรางกายเสริมใน
อาหารไกเนื้อเพื่อเพิ่มอัตราการเจริญเติบโ
และประสิทธิภาพในการใชอาหารทดแทนยา
แก่นเกษตร 39 ฉบับพิเศษ : 251-255 (2554).254
ปฏิชีวนะ (ระยะที่ 1). คณะกรรมการการ
อุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. 89 หนา.
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ. 2553. สถานการณของไกเนื้อใน
ปจุบั. [ Online] Available
http://www.oae.go.th [2553, สิงหาคม 16].
สมพร ภูติยานันต. 2542. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ
ยวดมุกั
การแพทยแผนไทย. พิมพครั้งที่ 3. องคการ
สงเคราะหทหารผานศึก, กรุงเทพฯ. 448
หนา.
Choi, S.M., M.J. Kim, Y.H. Choi, H.J. Ahn, and Y.P.
Yun. 1998. Screening for antibacterial
activity in natural products against
Propionibacterium acenes, Yakhak. Hoe
Chi Journal. 42 : 89-94.
Olayaki, L.A., K.S. Ajibade, S.S. Gesua, and A.O.
Soladoye. 2007. Effect of Zingiber
officinale on some hematologic values in
alloxan-induced diabetic rats.
Pharmaceutical Biology. 45 : 556–559.
Mascolo, N., R. Jain, S.C. Jain, and F. Capasso. 1989.
Ethnopharmacologic investigation of ginger
(Zingiber officinale). Journal of
Ethnopharmacology. 27 : 129-140.
Toshiya, M., I. Aya, Y. Yasumasa, G.P. William, K.
Hiroe, and N. Nobuji. 1991. Antimicrobial
phenylpropanoids from Piper sarmentosum.
Phytochemistry. 30 : 3227-3228.
Trivedi, A., and S.H. Mishra. 2009. Evaluation of
haematinic potential of a herbomineral
formulation (HMF-TE) in Haloperidol
induced anaemic rats. Pharmacognosy
Research. 1 : 192-196.
Table 1 Effect of dietary supplementation with Benjakul, ginger (Zingiiber officinale Roscoe) and amoxicillin on the
hematological parameters at 35 day-old.*
Treatments
Blood Parameters
RBC
( x 106cell/ql)
WBC
( x 103cell/ql)
Hemoglobin
(g/dl)
Hematocrit
(%)
Control 1.4225 b ± 0.0222 23.313
d
± 1.1063 6.600 b± 0.468 25.25 b ± 0.50
0.05 g/kg amoxicillin 0.5575 d ± 0.0026 40.875a± 0. 5951 4.235 d± 0.146 18.50 d ± 0.58
0.5 g/kg Benjakul 1.7200 a ± 0.0216 37.500 b± 0.3536 5.785 c± 0.131 32.00 a ± 1.41
0.5 g/kg ginger 1.0175 c ± 0.0350 24.625 c± 0.6614 6.830 a± 0.276 22.50 c ± 0.58
a – d Means in a column with different superscript are significantly different (P<0.01), * Mean ± SD (n=16)
KHON KAEN AGR. J. 39 SUPPLMENT : 251-255 (2011).
255
Table 2 Effect of dietary supplementation with Benjakul, ginger (Zingiiber officinale Roscoe) and amoxicillin on
white blood cells at 35 day-old.*
Treatments White Blood Cells (%)
Heterophil Basophil Lymphocyte Monocyte Band Eosinophil
Control 61.75 a ± 4.43 1.00 cb ± 0.00 34.50 c± 5.07 2.75 a± 0.50 - -
0.05 g/kg amoxicillin 50.50 c ± 1.00 0.75 c± 0.50 46.75 a± 1.26 1.50 b± 0.58 - -
0.5 g/kg Benjakul 47.25 d ± 3.30 2.00 a± 0.00 49.00 a± 3.37 1.75 b± 0.50 - -
0.5 g/kg ginger 54.00 b ± 2.00 1.25 b± 0.50 42.25b± 6.08 2.50 a± 0.58 - -
a – d Means in a column with different superscript are significantly different (P<0.01), * Mean ± SD (n=16)
Table 3 Effect of dietary supplementation with Benjakul, ginger (Zingiiber officinale Roscoe) and amoxicillin on
number of liver and intestine samples inflected by Escherichia coli and Samonella spp. at 35 day-old.*
Treatments Escherichia coli Salmonella spp.
Intestine (%) Liver (%) Intestine (%) Liver (%)
Control 1.00 a ± 0.00 0.25 ± 0.50 0.50 ± 0.58 0.00 b ± 0.00
0.05 g/kg amoxicillin 0.75 ab ± 0.50 0.25 ± 0.50 0.25 ± 0.50 0.50 a ± 0.58
0.5 g/kg Benjakul 0.50 bc ± 0.58 0.00 ± 0.00 0.25 ± 0.50 0.50 a ± 0.58
0.5 g/kg ginger 0.25 c ± 0.50 0.25 ± 0.50 0.25 ± 0.50 0.00 b ± 0.00
a – c Means in a column with different superscript are significantly different (P<0.01), * Mean ± SD (n=16)
ResearchGate has not been able to resolve any citations for this publication.
ResearchGate has not been able to resolve any references for this publication.