Content uploaded by Sate Sampattagul
Author content
All content in this area was uploaded by Sate Sampattagul on Apr 30, 2016
Content may be subject to copyright.
Content uploaded by Sate Sampattagul
Author content
All content in this area was uploaded by Sate Sampattagul on Apr 30, 2016
Content may be subject to copyright.
Content uploaded by Sate Sampattagul
Author content
All content in this area was uploaded by Sate Sampattagul on Apr 30, 2016
Content may be subject to copyright.
การถ่ายเทพลังงานความร้อนและมวลในอุปกรณ์ด้านความร้อนและกระบวนการ ครั้งที่ 15
30-31 มีนาคม 2559 ณ โรงแรมแอลรีสอร์ทสมุย จังหวัดสุราษฏร์ธานี
การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ระดับเมืองและการสํารวจ แผนทางเลือก
เพื่อล ดก๊าซ เรือนกระจกสําหรับเมืองคาร ์บอนต่ํา
City Carbon Footprint Evaluation and GHG Mitigation Options Planning Survey
for Low Carbon City
ชนนิกานต์ คํายันต์
สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200
E-mail: chonnigarn09@gmail.com
รศ.ดร.เศรษฐ์ สัมภัตตะกุล
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการพลังงา
นและเศรษฐนิเวศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เชียงใหม่ 50200
E-mail: sate@eng.cmu.ac.th
บทคัดย่อ
ในยุคโลกาภิวัฒน์
เศรษฐกิจมีการขยายตัวนํามาซึ่งการเพิ่ม
!"#$!%&'()*+,( -.)/0+1234,56,+(475897!%&4:;%&%<=+&:+,
เท!"#$%&'#&()*+,*-$.+/0123&4$567$53809:;<+&.53=(>+/0,*-$?@")2,A/"BC#:7DE&/8*;?C:.@F0BGHI
าพชีวิตของผู้คนในเมือง อย่างไรก็ตาม
!"#!$$%&'()%*'(+%,-,.#/)012!.$345)4*6')78"(9:.;$<=>?@'AB,'.C<AD8/!.$&29,( !.$345+EEF.
การจัดการของเสีย เช่น น้ําเสียและขยะ
ก่อให้เกิดก๊า!"#$%&'#()'*+,-##./'/012341/45#467(1/4%8%9
เพิ่มปัญหาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตามมามากมาย แนวคิดของ
“เมืองคาร์บอนต่ํา” !"#$%&'()*+,-,./&)012#34)56)352#789*:&2#';<*.*65=>:?$:@
!"#$%&'(#)*+)$',-./012!3456789:"0/015+%#:"0/;<9(:=">5079#:01&:01?'@5+79ง กรณีศึกษา
เทศบาลนครลําปาง เทศบาลนครเชียงรายและเทศบาลเมืองหนองสําโรง
ซึ่งพิจารณาตามแนวทาง Global Protocol for Community–Scale Greenhouse Gas
Emission Inventories (GPC) โดยแบ่งขอบเขตออกเป็น 3 !"#$%& '()*+, -./$-0&12 1
!"#$%&'(!)"*+#,'-!#./!0"12#1 3'4+32056 2
!"#$%&'(!)"*+#,'-!#./!0"1'2'3/"!!"#4526778" 9%.:';+:<0=> 3
!"#$%&'(!)"*+#,'-!#./!0"1'2'3',4-5
จากการศึกษาปริมาณก๊าซเรือนกระจกในระดับเมืองในปี พ.ศ.2555 พบว่า
เทศบาลนครลําปางปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ 2.36 tonCO
2-eq
ต่อหัวต่อปี
เทศบาลนครเชียงรายปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ 3.37 tonCO
2-eq
ต่อหัวต่อปี
และเทศบาลเมืองหนองสําโรงปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ 1.44 tonCO
2-eq
ต่อหัวต่อปี
!"#$%&'"&%()(#*+,-!-./%0*"12&*3142"5&6%7*(12-&(#$&58.9.,:;.,*<(%#=>?8-/@-=-A.9B@5/8
ายของข้อเสนอ 3 !"#$%&'( )*+,(- (".$/01234"56570*789#:;ลาร์รูฟท็อป การเพิ่มการใช้หลอดไฟ
LED ในครัวเรือน และปรับรูปแบบการจัดการขยะด้วยเทคโนโลยี RDF
พบกว่าต้นทุนหน่วยสุดท้ายจะมีค่าเท่ากับ -118.72, -87.53, -61.72 Baht/kgCO2 ตามลําดับ
!"#$%&'$()'*+,-..,/0123456,()'789,)4:23$3;<)$;8#$;2,=><4:23$&)'?.3,*#@)AB+C,3,)&*
Abstract
In the age of globalization, booming of economic has led to the dramatically growth
of the population and the city. Municipality, as a local government is inevitably
responsible for the well-being and quality of life of people in the city. However, the
city's activities such as energy consumption in household and transportation, electricity
and waste water and solid waste management are main greenhouse gas emission
sources that could directly and indirectly release to atmosphere and contribute to
climate change impacts. The concept of "Low Carbon City" has been introduced to the
local government in Thailand since 2012, this research aims to evaluate the City
Carbon Footprint (CCF) of Lampang, Chiang Rai and Nongsumrong municipals based
on the Global Protocol for Community-Scale Greenhouse Gas Emission Inventories
(GPC) which is divided into three categories: Scope 1 Direct greenhouse gas
emissions, Scope 2 Indirect greenhouse gas emissions and Scope 3 Other indirect
greenhouse gas emissions. As the results, CCF values of Lampang, Chiang Rai and
Nongsumrong municipals are equal 2.36, 3.37 and 1.44 tonCO
2-eq
per capita,
respectively. The mitigation planning offer 3 selective options which are solar rooftop,
การถ่ายเทพลังงานความร้อนและมวลในอุปกรณ์ด้านความร้อนและกระบวนการ ครั้งที่ 15
30-31 มีนาคม 2559 ณ โรงแรมแอลรีสอร์ทสมุย จังหวัดสุราษฏร์ธานี
LED light bulb for household and RDF
technology for municipal waste
management could demonstrate the
marginal abatement costs that are -
118.72, -87.53, -61.72 Baht/kgCO
2-eq
, respectively. This pilot project could be
considered as a model of sustainable urban development for low carbon city in the
future.
1. บทนํา
!"##$%&'()**+,)&-!./0%!"12,*,.3!)456'7!)-8,-9:,';<=>?,*,@
ซึ่งหนึ่งในสาเหตุหลักคือ ภาวะโลกร้อน
อัน!"#$%&'()(**(+,-.%/*0(1!+#%"*+2)*34$!56$''(*789")(**(+:;(!"6"*6
จกรรมต่างๆ
ของมนุษย์และการเพิ่มการขยายตัวทางเศรษฐกิจและสังคม
ไม่ว่าจะเป็น!"#$%&'()**"+ !"#,-"./0&,%123,'(4*
เกษตรกรรมและการตัดไม้ทําลายป่า เป็นต้น
ซึ่งล้วนเป็นการทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
!"#$%&'()*"+,-./01'2345678&9584:3;<=>):-;?@A-/:2.92345/.B.C678&D@78#)E
!"#$! %&'( )*+,--./&0('12-345-#.&67894 5:;4<(4$=> 49?&';>.
พายุ!"#$%&'$( ')*$+,!-.(/$0$*123!"#4&5367,89 ')*:;5#,,2<=>.&
ดังนั้นจาก!"#$%&'()*+,-./0&1%2$3)*+,*%456(0578 $098:;%059%;<
ได้มีก!"#"$!%&$'()!*+,-./0'12345,678*!โลกร้อนระดับเมือง
โดยได้กระตุ้นให้ประเทศกําลังพัฒนาได้จัดทํายุทธศาสตร์หรือแผนการพั
!"#$%&$'()*)#+,-."/01# (Low Carbon Society)
ในบริบทของการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยในเอเชียประเทศที่ริเริ่มโครงการ
!"# $%&'()*+,$-./ 0/1ครงการ 2050 Low Carbon Society Scenarios
[1]
!"#$%&'$()%*+,-./)0(1234-3!&567)(-3/89+023:1;<+9827+,-421%<+=,>!
รือนกระจก โดยใช้ การจัดทําข้อมูลปริมาณก๊าซเรือนกระจกระดับเมือง
(City Carbon Footprint: CCF)
!"#$%&'()*+%,-./01,23420/.5%64728!0#%940:;4;2441;400,<52)=
ที่เกิดขึ้นภายในเมือง
แล้วนําไปสู่แนวทางในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
!"#$%&'()*+,-.$/"$01*2+3456.7849:8-3$02
!"#$"%$#&$'()"*$+%,!-./01&'(234&56784(มาณก๊าซเรือนกระจกระดับเมื
องใน 3 เทศบาลต้นแบบ ได้แก่ เทศบาลนครเชียงราย
เทศบาลนครลําปางและเทศบาลเมืองหนองสําโรง
!"#$%&'()*+,-%.+*/01&+-2*3)*+&4567)8*!%+96()+/:);(&<ฐาน 2555
!"#$%&'&()*+,(&#-.+/012-&!3)$&4$51+-6ḃ'&("9'&(:";2<'=&
ซเรือนกระจก โดยใช้การวิเคราะห์ต้นทุนหน่วยสุดท้าย (Marginal
Abatement Cost)
!"#$%&'"()*+,-./012(3'"(4(567821.19&:8:;0<!:2%"!74!"<,!)$62%
!"#$%"#&!'()!*+,-$(.+/0!"!*1-234/+5)!*6+&78)9!:;*<7()*/4)
!"#$%!&'()*+,-./01.!,#%/2*+34%(5$6*789:;$,;)*+"<=(*%>.*/><$/>#(ต่อไป
2. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.1 การประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกในระดับเมือง
!"#$%&'(&"')*&+,-./(*012/%3&4!'52$%'67%,89:;%"<=2>22
กมาจากการดําเนินกิจกรรมต่างๆ ของ!"#$%&'()*%+,-"./0"'()123$456*!+7
โดยเป็นการกําหนด!"#$%&'()*+,-.//0123)+-34+12.567-8$9-()*0:1
กําหนดของ Global Protocol for Community – Scale Greenhouse
Gas Emission Inventories (GPC) [2]
โดยค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจะมีค่าศักยภาพในการก่อใ
!"#$%&'()*+,$-"./01234$45(6$7/
และค่าการเกิดภาวะโลกร้อนของก๊าซเรือนกระจกแต่ละชนิดแสดงในห
น่วยคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า
!"#$%&'()*+,-./01,2'3/,456,ให้เกิดภาวะโลกร้อนในรอบ 100 ปี
เป็นเกณฑ์ในการพิจารณา
ตารางที่ 1 แสดงค่าศักยภาพในการทําให้เกิดโลกร้อน
กลุ่มก๊าซเร ือนกระจก
สมการเคมี
ศักยภาพในการทําให้เกิ
ด
ภาวะ โลกร้อน
(เท่าของก๊าซคาร์บอ
นไดออกไซด์)
100 ปี
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด ์
CO
2
1
ก๊าซมีเทน
CH
4
25
ก๊าซไนตรัสออกไซด์
N
2
O
298
ก๊าซไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน
HFC
124-14,800
ก๊าซเพอฟลูโอโรคาร์บอน
PFC
7,390-12,200
ก๊าซซัลเฟอร์เฮกซา ฟลูออไรด์
SF
6
22,800
ก๊าซไนโต รเจนไตรฟลูออ ไรด์
NF
3
17,200
ที่มา: IPCC Climate change, 2007 [3]
ในการดําเนินการจะต้องระบุขอบเขตในการเก็บข้อมูลปริมา
!"#$%&'()*"'+,"%-./01234"$'567/))"&89* 3 ประเภท [4] !"#$%& '!()*+
ประเภทที่ 1 การปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกทางตรง
ประเภทที่ 2
!"#$%&'(!)"*+#,'-!#./!0"1'2'3/"!!"#4526%711"-$#.+8009: 3
!"#$%&'(!)"*+#,'-!#./!0"1'2'3',4-5
โดยในรูปที่ 1
จะแสดงถึงการแบ่งประเภทของแหล่งการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
รูปที่ 1 ประเภทและแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกของระดับเมือง
การประเมินการปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกสามารถป
ระเมินได้จากการตรวจวัดโดยตรง
!"#$%&&%'(')$)*+',)-&*.&%'/0%1)2 3+45%6+7$%&8-&%'9:; 1
GHG Emissions = AD × EF (1)
GHG Emissions ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (tonCO
2-eq
)
การถ่ายเทพลังงานความร้อนและมวลในอุปกรณ์ด้านความร้อนและกระบวนการ ครั้งที่ 15
30-31 มีนาคม 2559 ณ โรงแรมแอลรีสอร์ทสมุย จังหวัดสุราษฏร์ธานี
AD ข้อมูลกิจกรรม (Unit)
EF ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Unit/tonCO
2-eq
)
ในการคํานวณหาค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของการขนส่ง
ระหว่างเมืองจะเป็นการปันส่วนของข้อมูล ดังแสดงในรูปที่ 2
- !"#$%&%'"(')*(+,- ./" 50 เปอร์เซ็นต์
!"#$%&'()'*+!,%-./01'23&(!4'()567 1
- !"#$%&%'"(')*(+,- ./" 50 เปอร์เซ็นต์
!"#$%!&'()'*+!,-./01234$,'56%(!4'()789 1 และขอบเขตที่
3
ในการคํานวณหาค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการจัดการ
ของเสียด้วยวิธีการฝังกลบ
โดยเป็!"#$%&'()*+,--./'012&'(341350'316!76-8%9:!;92 (First order
decay method, FOD)
ได้มีการกําหนดขอบเขตของของการกําจัดของเสีย ดังแสดงในรูปที่ 2
A แสดงถึงของเสียที่เกิดนอกขอบเขตเมือง
แต่เป็นการนํามาบําบัดหรือกําจัดในเมือง
B
แสดงถึงของเสียที่เกิดขึ้นในเมืองและทําการบําบัดหรือกําจัดภายในเมือง
C แสดงถึงของเสียที่เกิดขึ้นในเมือง
แต่ส่งออกไปบําบัดหรือกําจัดนอกเขตเมือง
โดยจะกําหนดให้
ขอบเขตที่ 1 เป็นการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจาก A + B
ขอบเขตที่ 3 เป็นการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจาก C
รูปที่ 2
การปันส่วนของการขนส่งระหว่างเมืองและขอบเขตสําหรับการนําเข้าแ
ละส่งออกของเสีย
CH
4
generated =
{∑
x
[(MSW
x
× L
0
(x) x ((1-e
-k
) × e
-k (t - x)
)]-R(t)} x (1-OX) (2)
เมื่อ กําหนดให้ x เป็นปีเริ่มต้น จนถึงปี!"##$%&' t
K !"#!$%&'()*+#,#+-./*,0#12&3%4
MSW
x
ปริมาณขยะมูลฝอย!"#$%&'()*+!,*-./'0+12 x (Gg /yr)
L
0
ศักยภาพของการเกิดก๊าซมีเทน (GgCH
4
/GgMSW)
R !"#$%&'(%)$*+,-,*./0'-1%'234$%567!"89:6-; 5-!< t
(GgCH
4
/yr)
OX !"#!$%&'()*+,-.&.,/01'-23,/4&5126#4278'8584าออกซิ
เดชัน
ในสมการที่ 3
จะเป็นการคํานวณหาค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการบําบัดน้ําเสี
ยและการปล่อยทิ้ง
TOW
i
= P × BOD x I x 365 (3)
เมื่อ
TOW
i
ปริมาณสารอินทรีย์ทั้งหมดในน้ําเสีย (kg BOD/year)
P จํานวนประชากร (person)
BOD ปริมาณสารอินทรีย์ในรูป BOD (g/person/day)
I ค่าแฟกเตอร์ BOD !""#$%&'()*(+,-.อยลงท่อน้ําทิ้ง
การหาค่าสัมประสิทธิ์การปล่อยก๊าซมีเทนในน้ําเสีย
EF = MFC x B
o
(4)
เมื่อ
MFC แฟคเตอร์การปล่อยก๊าซมีเทนจากระบบบําบัดน้ําเสีย
B
o
ค่าสูงสุดของการเกิดก๊าซมีเทนในน้ําเสียหรือตะกอน
จุลินทรีย์ (kgCH
4
/kgBOD)
ปริมาณการปล่อยก๊าซมีเทนจากน้ําเสีย (kgCH
4
)
MW = TOW
i
x EF (5)
ในการคํานวณหาค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเพาะ
ปลูกข้าว
!"#$%&'()*(+,-./01(2+!34'567"86%+((+,79$68:+;66+<*1'-=6(+,'()*%
ากการย่อยสลายแบบไม่ใช้อากาศ ดังสมการ
CH
4
rice = ∑
I,j,k
(EF
i,j,k
x t
i,j,k
x A
i,j,k
x 10
-6
) (6)
เมื่อ
CH
4
rice !"#$%&$'()*)'+!,-./..0$%1%00%"(2%3!,4056%7
(GgCH
4
/yr
-1
)
EF ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกรายวันของระบบการ
เพาะปลูก i, j, k
t
ช่วงระยะเวลาการเพาะปลูกข้าวของระบบการเพาะ
ปลูก i, j, k
A !"#$%&'()*+(,-+(&'./01)/*).234).561()*เพาะปลูก
i, j, k (ha/yr
-1
)
i, j, k ความแตกต่างของระบบนิเวศ ระบบการจัดการน้ํา
ชนิดและปริมาณสารอินทรีย์ที่!"#!$%&'$()*+%,-./01
รวมถึง!"#$%&'()* +,(-.#/012อยก๊าซมีเทนจากข้าว
อาจแปรผันต่างกัน
การหาค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกรายวันของระบบการเพาะ
ปลูก
EF
i
= EF
c
× SF
w
× SF
p
× SF
o
(7)
เมื่อ
EF
i
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกรายวันของระบบการเพาะปลูก
(kgCH
4
/ha/day)
การถ่ายเทพลังงานความร้อนและมวลในอุปกรณ์ด้านความร้อนและกระบวนการ ครั้งที่ 15
30-31 มีนาคม 2559 ณ โรงแรมแอลรีสอร์ทสมุย จังหวัดสุราษฏร์ธานี
EF
c
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการขังน้ํา (kgCH
4
/ha/day)
SF
w
ค่าปรับแก้ค วามแตกต่างของระบบการจัดการน้ําในช่วง
การเพาะปลูก
SF
p
!"#$%&'()*! +#,(-)-"#./0.%1'')#%2&3)#%456#748"+.
ก่อนฤดูกาลการเพาะปลูก
SF
o
ค่าปรับแก้ความแตกต่างกันของชนิดและปริมาณ
สารอินทรีย์
SF
o
=(1 + ∑
i
ROA
i
× CFOA
i
)
0.59
(8)
เมื่อ
ROA
i
ปริมาณสารอินทรีย์ i, น้ํา!"#$%!&'()*!+#,-*'%./"0)*!"#$
เปียกสําหรับอ!"#$%&'()
CFOA
i
!"#$%&'()*+*,-)./"+#01."#23*4#')5
2.2
การวิเคราะห์ต้นทุนหน่วยสุดท้ายสําหรับการลดการปล่อยก๊าซเรือนกร
ะจก
การประเมินต้นทุนหน่วยสุดท้ายสําหรับการลดการปล่อยก๊าซเ
รือนกระจก
เป็นการคํานวณหาปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดลงได้จากการเปลี่ยนแ
ปลงเทคโนโลยีนั้นๆ
!"#$%&'()#*"+,-./012'3,4.'(5.678%"%-9":5(;<.=&%->):,#<?>4'<&+
!"#$%&'()(*+, -./012"34"#5##!"-("26(78()9":7
ในหน่วยของตัวเงินต่อปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า [5]
ซึ่งโครงการหรือเทคโนโลยีที่นํามาพิจารณาได้แก่
การผลิตเชื้อเพลิงขยะ โซลาร์รูฟท็อป และการเปลี่ยนหลอดไฟฟ้า LED
ในครัวเรือน ซึ่งสมการในการคิดวิเคราะห์แสดงใน สมการที่ 9
MAC = (OP
t
+ M
t
+ E
t
+ ∑CC
t
)/AEF (9)
เมื่อ
MAC ต้นทุนหน่วยสุดท้ายของโครงการหรือเทคโนโลยี
(Baht/tonCO
2-eq
)
OP
t
!"#$%&'"#()*+,-$-./0123145678*9!1*2#1:1;8
เทคโนโลยี t (Baht)
M
t
ค่าใช้จ่ายในการดําเนินการและดูแลรักษาโครงการ
หรือ เทคโนโลยี t (Baht)
E
t
!"#$%&'"#()*+,#-#./0.12(3454&6789!.8:#.
หรือเทคโนโลยี t (Baht)
∑CC
t
!"#$%&'"#()*+นๆที่เกิดขึ้นตลอดโครงการหรือการ
ติดตั้งและใช้เทคโนโลยี t (Baht)
AEF ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่สามารถลดลงได้ราย
ปี (tonCO
2-eq
)
3. วิธีการดําเนินงาน
3.1 กําหนดขอบเขตของเมือง
ขอบเขตในการรวบรวมแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยใช้วิธี
การควบคุมการดําเนินงาน
!"#$%&'()*+,-$./0/121-'(3456-17817(9:*(;6$%&'03"9<=4>4'()*+?1)*@
ายใต้อํานาจการควบคุมการดําเนินงานของเมืองทั้งที่เกิดในเมืองและ
นอกเมือง [6]
เมื่อได้ทําการเก็บข้อมูลของเมืองแล้วก็จะได้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
พื้นฐานของเทศบาลทั้ง 3 เทศบาล
ตารางที่ 2 !"#$%&'()*+,* 3 เทศบาล
ข้อมูล
เทศบาลนครลําปาง
เทศบาลนครเชียง ราย
เทศบาลเมืองหนองสําโรง
จังหวัดที่ตั้ง
ลําปาง
เชียงราย
อุดรธานี
พื้นที่
(ตารางกิโ ลเมตร)
22.17
60.85
24.85
จํานวนประชากร
(คน)
55,852
69,888
27,051
จํานวนครัวเรือน
(ครัวเรือน)
26,969
41,015
11,383
แผนที่ของทั้ง 3 เทศบาล
!"#$%&'()'*+,-!"#.!/012-3,-&4$25647$285191.:;:5'*+,-!"#.!/012-3,-
รูปที่ 3 แผนที่เทศบาลนครลําปาง
รูปที่ 4 แผนที่เทศบาลนครเชียงราย
การถ่ายเทพลังงานความร้อนและมวลในอุปกรณ์ด้านความร้อนและกระบวนการ ครั้งที่ 15
30-31 มีนาคม 2559 ณ โรงแรมแอลรีสอร์ทสมุย จังหวัดสุราษฏร์ธานี
รูปที่ 5 แผนที่เทศบาลเมืองหนองสําโรง
3.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลและกิจกรรมที่จะต้องทําการเก็บรวบรวมซึ่งเป็นข้อมูลที่เ
!"#$%&'(')*+,-./0123,456784(9:,;8'8<!8=>?@>A*$องเมือง
!"#$%&'()*+,-.(,/01%&234#%&+546'-'+%&# 1 ปี
!"#$%&'()*+,-%&./012'+"3.4+5
1. การใช้พลังงานในที่พักอาศัย
2. !"#$%&'()**"+,--."$+'/0+1234"5"#67
3. การใช้พลังงานในกลุ่มธุรกิจการค้าและการบริการ
4. การใช้พลังงานในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
5. !"#$%&'%()*'+,-./0"1#234,-5+,2.."6
6. การใช้พลังงานของอุตสาหกรรมการผลิต
7. การใช้พลังงานในการขนส่งทางถนน
8. การใช้พลังงานในการขนส่งทางระบบราง
9. !"#$%&'()**"+,"-!"#.+/0*1"*+23"
10. การใช้พลังงานภาคการขนส่งทางอากาศ
11. !"#$%&!"#'()*+,-&./-/01,23)!45
12. การจัดการของเสียด้วยวิธีการทางชีวภาพ
13. การจัดการของเสียด้วยวิธีการเผาไหม้
14. การจัดการน้ําเสียและการปล่อยทิ้ง
15. การทําการปศุสัตว์
16. การเพาะปลูกข้าว
17. !"#$%&'()*+,-. !"#$%&'/0$012304.5!"#+!67#
18. !"#$%&'()*+,-
ซึ่งข้อมูลในการประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรม
ที่เกิดขึ้นในเทศบาลทั้ง 3 เทศบาล จะแสดงในตารางที่ 3
ตารางที่ 3 ข้อมูลกิจกรรมปริมาณการใช้พลังงานและค่าปริมาณก๊าซเรือนกระจกในเขตเทศบาลทั้ง 3 เทศบาล ในปี พ.ศ.2555
ประเภทที่ 1
การปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกทางตร
ง
เทศบาลนครลําปาง
เทศบาลนครเชีย งราย
เทศบาลเมืองหนองสํา โรง
หน่วย
1.1
!"#$%&'(!)"*+#,'-!#./!0"1 2#1034+ !56/"!!"
!"#$% &'()*+,-./012
ปริมาณการใช้
GHG
(tonCO
2-eq
)
ปริมาณการใช้
GHG
(tonCO
2-eq
)
ปริมาณการใช้
GHG
(tonCO
2-eq
)
!"#$%&'()"*+',-./0
- !"#$%&'%()*'+,-./0"1#23 !"#4,-5+,2.."6
- การใช้พลังงานของอุตสาหกรรมการผลิต
1,080
-
3
-
-
256,953
-
705
-
3,512
-
10
Liter
Liter
!"#$%&'()"*+',-"
- การใช้พลังงานในกลุ่มธุรกิจก ารค้าและการบริการ
- การใช้พลังงานของอุตสาหกรรมการผลิต
842
-
3
-
3,824
144,416
12
446
557
1,974
37
6
Liter
Liter
การใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว
- การใช้พลังงานในที่พักอาศัย
- การใช้พลังงานในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
- การใช้พลังงานในกลุ่มธุรกิจการค้าและการบริการ
- การใช้พลังงานของอุตสาหกรรมการผลิต
1,099,865
45,480
1,474,225
-
3431
142
4,599
1,672,697
71,334
6,698,668
152,917
5,218
223
20,898
477
576,481
-
975,305
2,090
1,798
-
3,043
7
kg
kg
kg
kg
การใช้ถ่านไม้และฟืน
- การใช้พลังงานในที่พักอาศัย
- การใช้พลังงานของอุตสาหกรรมการผลิต
582,530
-
89
-
885,924
142,144
136
22
395,801
1,943
61
0.3
kg
kg
1.2 การปล่อยก๊าซเร ือนกระจกทางตรงที่เกิดจากการเผาไหม้ที่มีการเคลื่อนที่
!"#$%&'()"*+',-./0
- การใช้พลังงานในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
- การใช้พลังงานในการขนส่งท างระบ บราง
- การใช้พลังงานในการขนส่งท างถนน
- !"#$%&'()**"+$+!"#,+-.*/ "*+01"
1,099,865
94,332
4,723,628
-
1,727
259
12,964
-
448,848
-
7,183,789
13,140
1,232
-
17,717
37
82,826
-
2,519,078
-
227
-
7,125
-
Liter
Liter
Liter
Liter
การใช้นํามันเบนซ ิน
- การใช้พลังงานในการขนส่งท างถนน
- การใช้พลังงานในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
6,803,835
-
15,224
-
10,347,409
48,497
23,153
109
2,957,774
-
6,618
-
Liter
Liter
การถ่ายเทพลังงานความร้อนและมวลในอุปกรณ์ด้านความร้อนและกระบวนการ ครั้งที่ 15
30-31 มีนาคม 2559 ณ โรงแรมแอลรีสอร์ทสมุย จังหวัดสุราษฏร์ธานี
ประเภทที่ 1
การปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกทางตร
ง
เทศบาลนครลําปาง
เทศบาลนครเชีย งราย
เทศบาลเมืองหนองสําโรง
หน่วย
1.2
!"#$%&'(!)"*+#,'-!#./!0"1 2#1034+ !56/"!!"
รเผาไ หม้ที่มีการเคลื่อนที่
ปริมาณการใช ้
GHG
(tonCO
2-eq
)
ปริมาณการใช้
GHG
(tonCO
2-eq
)
ปริมาณการใช้
GHG
(tonCO
2-eq
)
การใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว
- การใช้พลังงานในการขนส่งท างถนน
- !"#$%&'()**"+$+!"#,+-.*/ "*+01"
618,761
-
1,974
-
941,024
82,125
3,002
262
152,469
-
486
-
kg
kg
การใช้ก๊าซธรรมชาติ
- การใช้พลังงานในการขนส่งท างถนน
110,362
248
167,840
377
90,710
204
kg
!"#$%&'()"*+',-#./0123'
- การใช้พลังงานในการขนส่งท างอากาศ
385,905
964
-
-
-
-
Liter
1.3 !"#$%&'!(")*+,&-!+./!012*!34567-/" !!"++829:;$<$.&,2-=
-การจัดการน้ําเสีย และการปล่อ ยทิ้ง
-!"#$%&!"#'()*+,-&./-/01,!"# 23)!45
272,879
35,494
30
32,450
4,402,636
29,952
550
17977
-
4,955
-
2,370
m
3
ton
ประเภทที่ 2 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทา งอ้อม จากการใช้พลังงาน
2.1 !"#$%&'(()"
- การใช้พลังงานในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
- การใช้พลังงานในกลุ่มธุรกิจก ารค้าและการบริการ
- การใช้พลังงานในที่พักอาศัย
- !"#$%&'()**"+,--."$+'/0+1234"5"# 67
- การใช้พลังงานของอุตสาหกรรมการผลิต
17,443,097
29,911,595
14,947,437
4,603,450
-
10,140
17,388
26,067
2,676
-
6,807,104
105,102,269
68,197,091
4,840,216
57,877,088
3,957
61,096
39,643
2,814
33,644
416,881
7,274,702
19,368,322
714,352
1,209,269
242
4,229
11,259
415
703
kWh
kWh
kWh
kWh
kWh
รวมปริมาณการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก
131,557
235,740
38,839
tonCO
2-eq
4. ผลการศึกษา
จากข้อมูลกิจกรร!"#$%& '()*+,-./012012!
!"#$%&'()(*+*,!"-.+*-"(/)(*+01%2)3(4!*#%.)*,5)&6$!)-789:.
!"#$%&'()*+,*'&-./0,1*23'4/5,'"!,6/789:7 3 เทศบาลดังนี้
รูปที่ 4 ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเทศบาลนครลําปาง
ในปี พ.ศ.2555
จากรูปที่ 4
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของเทศบาลนครลําปางเกิดการปล่อ
ยมากที่สุดในขอบเขตที่ 1 เนื่องมาจากการฝังกลบขยะ 32,449.51
tonCO
2-eq
และภาคการขนส่งทางบก 30,410.24 tonCO
2-eq
ในขอบเขตที่ 2 มากที่สุด คือ !"#$%&'(()"$*+,-*./012!3"425
26,066.84 tonCO
2-eq
และภาคธุรกิจการค้า 17,387.61 tonCO
2-eq
ตามลําดับ
รูปที่ 5 ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเทศบาลนครเชียงราย
ในปี พ.ศ.2555
จากรูปที่ 5
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของเทศบาลนครเชียงรายเกิดการป
ล่อยมากที่สุดในขอบเขตที่ 2
!"#$%&'()(**(+,-./001(,"2(345+*6จการค้า 61,095.95 tonCO
2-eq
!"#$%&'()*++,%'-./0-12345$6%758 39,642.97 tonCO
2-eq
ในขอบเขตที่
1 !"#$%&'() *+, -"*#"./0'12$"2300 46,248.51 tonCO
2-eq
และภาคธุรกิจการค้า 20,909.58 tonCO
2-eq
ตามลําดับ
การถ่ายเทพลังงานความร้อนและมวลในอุปกรณ์ด้านความร้อนและกระบวนการ ครั้งที่ 15
30-31 มีนาคม 2559 ณ โรงแรมแอลรีสอร์ทสมุย จังหวัดสุราษฏร์ธานี
รูปที่ 6 ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเทศบาลเมืองหนองสําโรง
ในปี พ.ศ.2555
จากรูปที่ 6
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของเทศบาลเมืองหนองสําโรงเกิดก
ารปล่อยมากที่สุดในขอบเขตที่ 1 !"#$%&'()(*+(,*(-."/0&1(&2*
14,432.90 tonCO
2-eq
และภาคธุรกิจการค้า 3,079.04 tonCO
2-eq
ในขอบเขตที่ 2 !"#$%&'() *+, #"-./01223".4'564$%&78#,"98ย
11,258.81 tonCO
2-eq
และภาคธุรกิจการค้า 4,228.78 tonCO
2-eq
ตามลําดับ
โดยผลรวมของปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้ง 3 เทศบาล
คือ เทศบาลนครลําปาง เทศบาลนครเชียงราย
และเทศบาลเมืองหนองสําโรง ปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ
131,577.36, 235,703.60 และ 38,839.36 tonCO
2-eq
ตามลําดับ
และในรูปที่ 7
!"#$%"&'(&)*+,-./-*)0123/4-56*728/*9:/;12<=>)*9?-/*@2&A=B& 3
เทศบาล ดังรูป
รูปที่ 7
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อประชากรของเทศบาลนครลําปา
ง เทศบาลนครเชียงรายและเทศบาลเมืองหนองสําโรง
ในปี พ.ศ.2555
จากการวิเคราะห์ต้นทุนหน่วยสุดท้ายสําหรับการลดก๊าซเรือนกระ
จกใน 3 โครงการ คือ การผลิตเชื้อเพลิงขยะ โซลาร์รูฟท็อป
และการเปลี่ยนหลอดไฟฟ้า LED ในครัวเรือน โดยในรูปที่ 8, 9 และ 10
จะแสดงค่าต้นทุนหน่วยสุดท้ายของโซลาร์รูฟท็อป หลอดไฟ LED
ในครัวเรือน และเชื้อเพลิงขยะ RDF ตลอดอายุการใช้งาน
โดยที่อายุการทํางานของแผงโซลาร์เซลล์ มีอายุการใช้งานที่ 25 ปี
ส่วนหลอดไฟLED อายุการใช้งานที่ 14 ปี ซึ่งคิดจาก
อายุการใช้งานของหลอดที่30,000 ชั่วโมง ใช้งานวันละ 6 !"#$%&'()*$"+
และอายุการใช้งานของเครื่องจักรในการผลิตเชื้อเพลิงขยะ RDF
มีอายุที่ 15 ปี
รูปที่ 8 ต้นทุนหน่วยสุดท้ายของโซลาร์รูฟท็อป
ตลอดอายุการใช้งาน 25 ปี
รูปที่ 9 ต้นทุนหน่วยสุดท้ายของหลอดไฟ LED ในครัวเรือน
ตลอดอายุการใช้งาน 14 ปี
รูปที่ 10 !"#$%#&#'()*%+$",)-./0123.0456/-)7 RDF
ตลอดอายุการใช้งาน 15 ปี
จากรูปที่ 8, 9 และ 10 ในการเริ่มต้นลงทุนโครงการ
!"#$%#&#'()*%+$",)-./0,1!2+!34/โซลาร์รูฟท็อป การเปลี่ยนหลอดไฟ
LED ในครัวเรือน และขยะเชื้อเพลิง RDF เท่ากับ 92.42, 19.59 และ
61.56 Baht/kgCO
2-eq
ตามลําดับ
ซึ่งเป็น!"#$%&'()*+,-ว่า!"#$%&#'()*+,-%.*+!/012'/$1',3การลดการปล่อย
ก๊าซเรือนกระจก
และค่าต้นทุนหน่วยสุดท้ายในปีสุดท้ายของอายุการใช้งานในการติดตั้ง
โซลาร์รูฟท็อป การเปลี่ยนหลอดไฟ LED ในครัวเรือน
และขยะเชื้อเพลิง RDF เท่ากับ -175.48, -87.53 และ -61.72
การถ่ายเทพลังงานความร้อนและมวลในอุปกรณ์ด้านความร้อนและกระบวนการ ครั้งที่ 15
30-31 มีนาคม 2559 ณ โรงแรมแอลรีสอร์ทสมุย จังหวัดสุราษฏร์ธานี
Baht/kgCO
2-eq
ตามลําดับ
ซึ่ง!"#$%&'()*+,-./01&'23&4560!.+7%&'895:&'78$;'<ลดการปล่อยก๊าซเรือ
นกระจกและยังมีผลกําไรอีกด้วย
จากการดําเนินโครงการหรือเทคโนโลยีมาช่วยลดการปล่อยก๊าซเรื
อนกระจกจากทั้ง 3 เทคโนโลยี
ซึ่งปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่สามารถลดลงได้จะแสดงในตารางที่ 5
ตารางที่ 4 ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดลงได้จากการดําเนินโครงการ
โครงการหรือเทคโนโลยี
เทศบาลนครลําปาง
(tonCO
2-eq
/yr)
เทศบาลนครเชียงราย
(tonCO
2-eq
/yr)
เทศบาลเมืองหนองสําโรง
(tonCO
2-eq
/yr)
โซลาร์รูฟท็อป
10,456.13
15,901.90
4,413.29
หลอดไฟ LED
ในครัวเรือน
1,029.98
1,566.42
434.73
เชื้อเ พลิงขยะ RDF
685.38
367.17
24.48
รวม
12,171.49
17,835.48
4,872.50
จาก 3 เทคโนโลยี ได้มีการกําหนด โดยโซลาร์รูฟท็อปทําการติดตั้ง
50% ของครัวเรือนทั้งหมด ครัวเรือนละ 1 kW ในส่วนหลอดไฟ LED
ทําการเปลี่ยนที่ครอบครัวละ 1 หลอด และเชื้อเพลิงขยะ RDF
!"#$%&'(")%*+,-./01&"#+23454'67.8.2555
!"#$%&$'()*+,*-./01สามารถนํามาผลิตเชื้อเพลิงขยะ RDF ได้ คือ
พลาสติก กระดาษ และเศษใบไม้
ซึ่งปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดลงของเทศบาลนครลําปาง
เทศบาลนครเชียงราย และเทศบาลหนองสําโรง คือ 12,171.49,
17,835.48 และ 4,872.50 tonCO
2-eq
/year ตามลําดับ
5. สรุปผลการวิจัย
ในปี พ.ศ.2555
ปริมาณของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับเมืองของ 3 เทศบาล
ได้แก่ เทศบาลนครลําปาง
เทศบาลนครเชียงรายและเทศบาลเมืองหนองสําโรง
!"##"$%&"'()(#)!#$$*+,"-. /01'#)%234(5(674(/01 ดังนั้น
เทศบาลนครลําปางมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ 131,577.36
tonCO
2-eq
เทศบาลนครเชียงรายมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ
235,703.60 tonCO
2-eq
และเทศบาลเมืองหนองสําโรงมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ
38,839.36 tonCO
2-eq
และปริมาณก๊าซเรือนกระจกในระดับเมืองต่อหัวประชากรของเทศบาล
นครลําปางเท่ากับ 2.36 tonCO
2-eq
ต่อหัวต่อปี
เทศบาลนครเชียงรายเท่ากับ 3.37 tonCO
2-eq
ต่อหัวต่อปี
และเทศบาลเมืองหนองสําโรงเท่ากับ 1.44 tonCO
2-eq
ต่อหัวต่อปี
ซึ่งจากการวิเคราะห์!"#$%#&#'()*%+$",)-./0,1!2+!34/โซลาร์รูฟท็อป
การเปลี่ยนหลอดไฟ LED ในครัวเรือน และเชื้อเพลิงขยะ RDF
ในปีแรกเท่ากับ 92.42, 19.59, 45.44 Baht/kgCO
2-eq
ตามลําดับ
ซึ่ง!"#$%&'()*+,-./0123145167819,%&':;7<&'4!=>-9!6>9:$*'?@0*'?"@&84
ก๊าซเรือนกระจก
และค่าต้นทุนหน่วยสุดท้ายในปีสุดท้ายของอายุการใช้งานในการติดตั้งโ
ซลาร์รูฟท็อป การเปลี่ยนหลอดไฟ LED ในครัวเรือน และขยะเชื้อเพลิง
RDF เท่ากับ -118.72, -87.53, -61.72 Baht/kgCO
2-eq
ตามลําดับ
และยังสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนของเทศบาลนครลําปาง
เทศบาลนครเชียงรายและเทศบาลเมืองหนองสําโรง เท่ากับ
12,171.49, 17,835.48, 4,872.50 tonCO
2-eq
ตามลําดับ
!"#$%&'()&*"+,-..-/0%12/-3454-6/%7-8.-/69:;#.<-=1/>;?./3,.
!"#$%&'()*&+&,-$"./0,1)-234(563(,789:/!""#$%&'(!)*$+,-!.%!/"01)*2!3/4
เรือนกระจกที่สูงได้
!"#$%&'$()*+,+-.!/0+12(345+-6-#%6+789&+:;85+-<45+-2<=%>5?+@!
!"#$%!&'%()*+%,-./0$1$'2-$30$45-6
และการวิเคราะห์หาต้นทุนหน่วยสุดท้าย
!"#"$%&'()*+,-+./%0-1&234356'7$8.32$-/"$9:;
ที่จะสามารถสร้างผลกําไรและสามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนก
ระจกลงได้
6. กิตติกรรมประกาศ
ผู้วิจัยขอขอบคุณ เทศบาลนครลําปาง จังหวัดลําปาง
เทศบาลนครเชียงราย จังหวัดเชียงราย เทศบาลเมืองหนองสําโรง
จังหวัดอุดรธานี
!"#$%&'()#*+,-.(%#/$012+*34567.8679)12+:;,8#%<=8>#)?@&9(%&A:,6A
และศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการพลังงานและเศรษฐนิเวศ
สถาบันวิจัยวิทยาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
!"#$%&'()*+,(-.%/012/3'4)25354).6751-,)89":/19*)
!"#$"%&!'(")*+,$-./!0102%#3456%(5)
7. เอกสารอ้างอิง
[1] [ระบบออนไลน์] !"#$%&'()* www.2050.nies.go.jp เข้าดูเมื่อวันที่
01/02/2559
[2] The World Resources Institute (WRI): 2012, Global Protocol
for Community – Scale Greenhouse Gas Emission (GPC)
[3] IPCC 2007. Climate Change 2007 : The Physical Science
Basic. Working Group I Contribution to the Fourth Assessment
Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change.
[4] องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน).
แนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร.
(ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1) ตุลาคม 2556.
[5] องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน).
คู่มือการจัดทําข้อมูลปริมาณก๊าซเรือนกระจกระดับเมือง. มิถุนายน
2558.
[6] ธนพนธ์ มูลสินและณัฐนี วรยศ (2554).
!"#$#%&'()*+!#%,-./01(23456+70'4+%.7),8)9)/5:186,7":;03!"#
!"#$%&&'()(*+,-./0.1234,567818",9:*;<=#&>57.?@1