BookPDF Available

FISH DIVERSITY IN SALWEEN WATERSHED IN THAI WATER

Authors:

Abstract

Fish diversity in Salween watershed in Thai water was collected by seasonal such as dry cold, dry hot and rainy season. The fish diversities included 82 species, in 18 families. The species compositions of fishes are dominant by cyprinids, balitorids, and catfishes. The dominant species was Barilius ornatus follow by Schistura moeiensis and Schistura maepaiensis. The invertivorous group is the most dominant in this study. Many endemic species were found in Salween river basin such as Hypsibarbus salweenensis, Hampala salweenensis, and Crossocheilus burmanicus. Then, it would have preserved and should not be contaminated with fish species in other river basins.
รายงานผลงานวิจัย
มหาวิทยาลัยแมโจ
เรื่อง
การศึกษาความหลากหลายของชนิดปลาในเขตลุมน้ําสาละวิน
ในเขตพื้นที่ประเทศไทย
FISH DIVERSITY IN SALWEEN WATERSHED IN THAI WATER
โดย
อภินันท สุวรรณรักษ จงกล พรมยะ เอกพจน เจริญสิริวงศธนา
2553
รายงานผลงานวิจัย
มหาวิทยาลัยแมโจ
เรื่อง การศึกษาความหลากหลายของชนิดปลาในเขตลุมน้ําสาละวิน
ในเขตพื้นที่ประเทศไทย
FISH DIVERSITY IN SALWEEN WATERSHED IN THAI WATER
ไดรับการจัดสรรงบประมาณวิจัย ประจําป 2551-2552
จํานวน 653,000 บาท
หัวหนาโครงการ อภินันท สุวรรณรักษ
จงกล พรมยะ
เอกพจน เจริญสิริวงศธนา
งานวิจัยเสร็จสิ้นสมบูรณ
วันที่.27../..กันยายน.../.2553..
กิตติกรรมประกาศ
งานวิจัยนี้ไดรับทุนอุดหนุนจากสํานักวิจัยและสงเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม
โจ ประจําปงบประมาณพ.ศ. 2551-52 โดยในการดําเนินงานวิจัยไดรับความอนุเคราะหในหลายๆ
ดาน จากหนวยงานตางๆ ในจังหวัดแมฮองสอน และตองขอขอบคุณพลตรีนพพร เรือนจันทร อดีต
ผูบัญชาการกรมทหารพรานที่ 36 คายเทพสิงห และพ.อ.วรเทพ บุญญะ ผบ.ฉก.ทพ.36 คน
ปจจุบันซึ่งไดชวยเหลือในการประสานงานและไดมอบหมายใหผูใตบังคับบัญชาชวยดูแลความ
ปลอดภัย พ.ท.อดุลย จําปาทอง รอง ผบ.ฉก.ทพ.36 พ.ต.เรืองฤทธิ์ เสาวพนธ ฝอ.4 ฉก.ทพ.36
จัดหาเรือเพื่อใชในการเก็บตัวอยาง ขอขอบคุณผูกองปอม จาจง และจาแจ ที่ชวยดูแลความ
ปลอดภัยในขณะปฏิบัติงาน รวมทั้งทหารพรานยาว ทหารพรานจิน และทหารพรานทานอื่นๆ อีก
หลายทานที่เปนผูคอยดูแลความปลอดภัยตลอดระยะเวลาที่ออกเก็บตัวอยาง ชวยกับขับเรือ
ทํากับขาว ติดตอประสานงานกับทหารฝงพมา และขอบคุณที่พักของหนวยทหารพรานบานแมสะ
เกิบ ที่สบเมย และที่พักของหนวยปาไมที่ผาแดง และที่บานแมสามแลบ
อขอบคุณ อ. อุย (อ. อภิชาติ สวนคํากอง) ชวยประสานกับทาง ฝ.4 ฉก. ทพ. 36 ชว
ทํากับขาว และชวยขับรถให พี่หนอง (นายพงษสิทธิ์ สิทธิวัง) ชวยไปเปนตากลองขณะออกเก็
ตัวอยาง นายจุลทรรศน คีรีแลง นายรตพล วัฒนศิริเสรีกุล นายกิตติกร ตาลาว พี่นึกและเจาหนาที่
จากสถานีประมงน้ําจืดจังหวัดแมฮองสอน นายผดุงศักดิ์ ศรีหนองจิก นายทศพร อินทเกษ และ
ผูชวยทานอื่นๆ ที่ไมไดเอยนามที่ออกเก็บตัวอยางดวยกัน และชวยกันชั่งวัดปลาตัวอยาง และทํา
ขอมูลเบื้องตน
สารบัญ
สารบัญเรื่อง หนา
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
บทคัดยอ 1
Abstract 2
คํานํา 3
วัตถุประสงคของงานวิจัย 4
การตรวจเอกสาร 5
อุปกรณและวิธีการ 6
ผลการทดลอง 10
วิจารณผลการทดลอง 46
สรุปผลการทดลอง 49
เอกสารอางอิง 51
ภาคผนวก 54
สารบัญตาราง
ตารางที่ หนา
1 สถานีที่ทําการเก็บตัวอยางปลาในแมน้ําสาละวิน และลําน้ําสาขาในชวงฤดูหนาว 10
2 สถานีที่ทําการเก็บตัวอยางปลาในแมน้ําสาละวิน และลําน้ําสาขาในชวงฤดูรอน 11
3 สถานีที่ทําการเก็บตัวอยางปลาในแมน้ําสาละวิน และลําน้ําสาขาในชวงฤดูฝน 12
4 ชนิดปลาที่พบในลุมแมน้ําสาละวินในเขตประเทศไทย 22
5 ปริมาณของปลาแตละชนิดที่พบในฤดูหนาว (จํานวนตัวปลา E10 ตัว; D 10-49 ตัว;
C 50-100 ตัว; B 101-199 ตัว; A 200 ตัว) 26
6 ปริมาณของปลาแตละชนิดที่พบในฤดูรอน (จํานวนตัวปลา E10 ตัว; D 10-49 ตัว;
C 50-100 ตัว; B 101-199 ตัว; A 200 ตัว) 28
7 ปริมาณของปลาแตละชนิดที่พบในฤดูฝน (จํานวนตัวปลา E10 ตัว; D 10-49 ตัว;
C 50-100 ตัว; B 101-199 ตัว; A 200 ตัว) 30
ตารางผนวกที่ หนา
1 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีน้ําสาละวิน (ผาแดง) 55
2 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีเกาะกลางน้ําสาละวิน 56
3 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีหวยผาแดง 57
4 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีสบแงะ 57
5 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีแมสะเกิบ 58
6 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีแมปอ 59
7 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีหวยฮูวาลู 60
8 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีหวยพะละอึ 60
9 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีหวยแหง 61
10 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีหวยแมตี 61
11 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีหวยแมปว 62
12 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูรอนบริเวณสถานีหวยแมแตะหลวง 63
13 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูรอนบริเวณสถานีปาแต 63
14 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูรอนบริเวณสถานีสบแงะ 64
สารบัญตาราง
ตารางผนวกที่ หนา
15 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูรอนบริเวณสถานีหวยแมตี 64
16 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูรอนบริเวณสถานีเกาะกลางน้ํา สาละวิน 65
17 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูรอนบริเวณสถานีหวยโกเฮ 65
18 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูรอนบริเวณสถานีหวยแหง 66
19 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูรอนบริเวณสถานีหวยอูลู 66
20 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูรอนบริเวณสถานีหวยแปะกอ 66
21 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูรอนบริเวณสถานีหวยผาแดง 67
22 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูรอนบริเวณสถานีหวยพะละอึ 67
23 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูรอนบริเวณสถานีหวยแมสะเกิบ 67
24 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูรอนบริเวณสถานีหวยมอกะโล 68
25 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูรอนบริเวณสถานีหวยอีนวล 68
26 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูรอนบริเวณสถานีหวยอูลู 68
27 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูรอนบริเวณสถานีหวยกกมอ 69
28 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูฝนบริเวณสถานีหวยจะโยโกร 70
29 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูฝนบริเวณสถานีหวยแมปว 71
30 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูฝนบริเวณสถานีหนวยทหารสบยวม 71
31 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูฝนบริเวณสถานีหวยทากา 72
32 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูฝนบริเวณสถานีหวยแมสะเกิบ 72
33 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูฝนบริเวณสถานีหวยแมแตะ 73
34 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูฝนบริเวณสถานีหวยแมปาน 73
35 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูฝนบริเวณสถานีหวยแมปว 74
36 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูฝนบริเวณสถานีหวยโปเปอ 74
37 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูฝนบริเวณสถานีหวยแมตี 75
38 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูฝนบริเวณสถานีหนวยทหารสบยวม 75
39 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูฝนบริเวณสถานีสบหวยแมปอ 76
40 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูฝนบริเวณสถานีหวยแมปอ ในหวย 76
41 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูฝนบริเวณสถานีสบแงะ 77
42 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูฝนบริเวณสถานีหวยแมแตะ 77
สารบัญตาราง
ตารางผนวกที่ หนา
43 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูฝนบริเวณสถานีสบยวม 78
สารบัญภาพ
ภาพที่ หนา
1 สถานีเก็บตัวอยางในการทดลอง ในเขตลุมน้ําสาละวิน 8
2 ชนิดปลาที่พบในลุมน้ําสาละวินในเขตประเทศไทย 13
3 ชนิดของปลาที่มีความชุกชุมมากที่สุดเรียงตามลําดับโดยพบมากกวา 100 ตัวอยาง
จากทุกสถานีที่สํารวจและทุกฤดูกาล 25
4 ปริมาณของปลาแตละกลุมที่พบในฤดูหนาว 32
5 ปริมาณของปลาแตละกลุมที่พบในฤดูรอน 32
6 ปริมาณของปลาแตละกลุมที่พบในฤดูฝน 33
7 ปริมาณปลาที่พบในแตละกลุม แยกตามฤดูกาล 33
8 ปริมาณปลาที่พบในแตละฤดู แยกตามลักษณะการกินอาหาร 34
9 อัตราสวนการกินอาหารของปลาที่พบในฤดูหนาว 34
10 อัตราสวนการกินอาหารของปลาที่พบในฤดูรอน 35
11 อัตราสวนการกินอาหารของปลาที่พบในฤดูฝน 35
12 คากําลังการผลิตปลาของแหลงน้ําในสถานีสํารวจชวงฤดูหนาว 36
13 คากําลังการผลิตของแหลงน้ําในสถานีสํารวจปลาชวงฤดูรอน 36
14 คากําลังการผลิตของแหลงน้ําในสถานีสํารวจปลาชวงฤดูฝน 37
15 คากําลังการผลิตของแหลงน้ําในสถานีสํารวจปลาเปรียบเทียบในแตละฤดู 37
16 อัตราสวนการกินอาหารจําพวกพืชตออาหารจําพวกเนื้อสัตวในชวงฤดูหนาว
(โดยน้ําหนักปลา) 38
17 อัตราสวนการกินอาหารจําพวกพืชตออาหารจําพวกปลากินเนื้อสัตวในชวงฤดูรอน
(โดยน้ําหนักปลา) 38
18 อัตราสวนการกินอาหารจําพวกพืชตออาหารจําพวกปลากินเนื้อสัตวในชวงฤดูฝ
(โดยน้ําหนักปลา) 39
19 อัตราสวนการกินอาหารจําพวกพืชตออาหารจําพวกปลากินเนื้อสัตวเปรียบเทียบ
ในแตละชวงฤดู (โดยน้ําหนักปลา) 39
20 คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพในแตละชวงฤดู 40
21 ดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพจากการเก็บตัวอยางในฤดูหนาว 41
22 ดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพจากการเก็บตัวอยางในฤดูรอน 41
สารบัญภาพ
ภาพที่ หนา
23 ดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพจากการเก็บตัวอยางในฤดูฝน 41
24 ดัชนีการกระจายตัวจากการเก็บตัวอยางในรอบป 42
25 ดัชนีการกระจายตัวจากการเก็บตัวอยางในฤดูหนาว 42
26 ดัชนีการกระจายตัวจากการเก็บตัวอยางในฤดูรอน 43
27 ดัชนีการกระจายตัวจากการเก็บตัวอยางในฤดูฝน 43
28 การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิน้ํา อุณหภูมิอากาศ pH และปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา
ในแตละชวงฤดู 44
29 การเปลี่ยนแปลงของความเปนดาง ความสูง และคาการนําไฟฟาในแตละชวงฤดูกาล 45
30 การเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ําในแตละชวงฤดู 45
1
การศึกษาความหลากหลายของชนิดปลาในเขตลุมน้ําสาละวิน
ในเขตพื้นที่ประเทศไทย
FISH DIVERSITY IN SALWEEN WATERSHED IN THAI WATER
อภินันท สุวรรณรักษ1 จงกล พรมยะ1 และเอกพจน เจริญศิริวงศธน2
APINUN SUVARNARAKSHA1, JONGKOL PROMYA1
AND AKAPOCH CHAREONSIRIWONGTHANA2
1คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ํา
มหาวิทยาลัยแมโจ จังหวัดเชียงใหม
Faculty of Fisheries Technology and Aquatic Resources
Maejo University, Chiangmai
2สถานีประมงน้ําจืดจังหวัดแมฮองสอน อําเภอเมือง จังหวัดแมฮองสอน
Maehongson Inland Fisheries Station, Muang District, Maehongson Province
บทคัดยอ
ความหลากหลายของชนิดปลาในเขตลุมน้ําสาละวิน ในเขตพื้นที่ประเทศไทย ซึ่งใน
การศึกษาครั้งนี้ไดทําการออกสํารวจเพื่อเก็บตัวอยางปลาทั้งสิ้น 3 ครั้ง โดยแบงออกตามฤดูกาล
ไดแก ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดูหนาว เพื่อเปรียบเทียบความเปลี่ยนแปลงทั้งสามฤดูกาล ใน
การศึกษาครั้งนี้พบปลาทั้งสิ้น 7 อันดับ 18 วงศ 49 สกุล 82 ชนิด โดยพบกลุมปลาตะเพียน
(Cyprinids) รองลงมาเปนกลุมปลาคอ (Balitorids) และกลุมปลาหนัง (Siluriforms) ตามลําดับ
ชนิดปลาที่มีความชุกชุมมากที่สุดคือปลาน้ําหมึก (Barilius ornatus) รองลงมาเปนปลาคอแมน้ํา
เมย (Schistura moeiensis) และปลาคอแมน้ําปาย (Schistura maepaiensis) กลุมปลากินสัตว
ไมมีกระดูกสันหลังเปนอาหารเปนกลุมปลาหลักที่พบ มีหลายชนิดที่มีความจําเพาะกับลุมน้ําสาละ
วิน เชน ปลาตะเพียนสาละวิน (Hypsibarbus salweenensis), ปลากระสูบสาละวิน (Hampala
salweenensis), และปลาสอพมา (Crossocheilus burmanicus) เปนตน จึงนาจะมีการอนุรักษ
และไมนาจะนํามาปนเปอนกับชนิดปลาในลุมแมน้ําอื่นๆ
2
Abstract
Fish diversity in Salween watershed in Thai water was collected by seasonal
such as dry cold, dry hot and rainy season. The fish diversities included 82 species, in
18 families. The species compositions of fishes are dominant by cyprinids, balitorids,
and catfishes. The dominant species was Barilius ornatus follow by Schistura moeiensis
and Schistura maepaiensis. The invertivorous group is the most dominant in this study.
Many endemic species were found in Salween river basin such as Hypsibarbus
salweenensis, Hampala salweenensis, and Crossocheilus burmanicus. Then, it would
have preserved and should not be contaminated with fish species in other river basins.
คําสําคัญ: แมน้ําสาละวิน ความหลากหลายของชนิดปลา
Salween River, Fishes Diversity
3
คํานํา
ความหลากหลายทางชีวภาพเปนสิ่งสําคัญยิ่งตอการศึกษาทางดานชีววิทยา พฤติกรรม
สรีรวิทยา ตลอดจนการประมงที่ถูกนํามาประยุกตใชในดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมขอ
ปยปที่นํจัช
ทรัพยากรธรรมชาติไดอยางตอเนื่อง และไมมีที่สิ้นสุด ปจจุบันนี้ขอมูลทางดานความหลากหลาย
ทางชีวภาพของปลาในเขตพื้นที่ลุมน้ําสาละวินยังมีอยูนอย แมน้ําสาละวินเปนแมน้ําที่มีความยาว
2,800 กิโลเมตร มีตนกําเนิดจากการละลายของหิมะเหนือเทือกเขาหิมาลัย ไหลผานมลฑลยูนนาน
ประเทศจีน ที่ซึ่งเรียกสายน้ํานี้วา นูเจียง และผานประเทศพมาผานรัฐฉาน รัฐกะยา รัฐกะเหรี่ยง
ซึ่งเปนแมน้ํากั้นพรมแดน ระหวางพมากับไทยที่จังหวัดแมฮองสอน มีความยาวประมาณ 180
กิโลเมตร และไหลลงมาบรรจบกับแมน้ําเมย หลังจากนั้นแมน้ําสาละวินจึงไหลวกกลับเขาประเทศ
พมา และไหลลงสูมหาสมุทรอินเดียที่อาวเมาะตะมะ รัฐมอญ
ลุมน้ําสาละวินเปนลุมน้ําที่พิเศแตกตางากลุมน้ําพื้นที่สวนอื่ของประเท ซึ่
ปจจุบันสภาพของแหลงน้ําบางสวนโดนทําลายไปจนนาเปนหวง ทั้งการขยายตัวของชุมชนเมือง
โรงงานอุตสาหกรรม และอื่นๆ ปลอยน้ําเสียลงสูแหลงน้ําเปนผลทําใหสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในแหลง
น้ํานั้นสูญพันธุหรือไมสามารถขยายพันธุตอไปได กอรปกับความหลากหลายทางชีวภาพของ
ประเทศในขณะนี้มีโอกาสสูญพันธุมากขึ้น และปญหาที่ประสบอยูมากที่สุดก็คือ สัตวน้ําจืดกําลั
ลดลงทุกขณะ ซึ่งจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตใน
น้ําจืดควบคูกับการศึกษาคุณภาพน้ํา เพื่อเปนแนวทางสําหรับการนําผลการศึกษามาประยุกตใช
ในการจัดการทรัพยากรสัตวน้ําไดอยางถูกตองตอไปในอนาคตเปนขอมูลพื้นฐานในการจัดกา
เรื่องสภาพแวดลอม เปนการอนุรักษ การนํามาใชประโยชน และยังไมมีขอมูลชนิดปลาที่สมบูรณ
ในเขตพื้นที่ลุมน้ําสาละวิน
นอกจากนี้ในแมน้ําสาละวินยังมีโครงการสรางเขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟาอีกหลายเขื่อน
เชน เขื่อนทาซาง เขื่อนไฟฟาพลังน้ําขนาด 7,110 เมกะวัตต ในรัฐฉาน ตรงขาม อ.เชียงดาว จ.
เชียงใหม เขื่อนยวาติ๊ด ในรัฐคะเรนนี ขนาด 600 เมกะวัตต เขื่อนเวยจี (สาละวินชายแดนตอนบน)
แกงเวยจีบริเวณชายแดนพมา-ไทย (เขตอุทยานแหงชาติสาละวิน) ขนาด 4,000-5,600 เมกะวัตต
เขื่อนดา-กวิน (สาละวินชายแดนตอนลาง) ในเขตอุทยานแหงชาติสาละวิน ขนาดประมาณ 900 เม
กะวัตต และเขื่อนฮัตจี แกงฮัตจีในรัฐกะเหรี่ยง ขนาด 600 เมกะวัตต เพื่อผลิตกระแสไฟฟาและการ
สรางพื่อนําน้ํขามาสูระแมน้ําเจาพะยรื่องลังปนรื่องที่นาปนหงเปอยงยิ่
4
เนื่ากวาลาลาที่แตตางกัจะมีารปอทาพัธุกรมองสัวน้ํ
โดยเฉพาะปลาเฉพาะถิ่น
ศึาเกี่ยกัลางชนิดดมีารศึกัย
กวางขวาง และสามารถนํามาใชเปนขอมูลพื้นฐานที่สําคัญในการเลือกใชทรัพยากร และอนุรักษ
โดยมีตัวอยางงานวิจัยที่สําคัญๆ ที่กลาวถึงความหลากหลายของชนิดปลาไว เชน หลวงมัศยจิตร
การ และโชติ (2495), Weber ละ de Beaufort (1916), Fowler (1934), Suvatti (1950), Day
(1958), Smith (1945), Thiemmehd (1968), Vidthayanon et al. (2005) และทานอื่นๆ ที่ได
ทําการศึกษาความปลากหลายของปลาในเขตนี้ แตดวยเปนพื้นที่ที่ยังตองการความมั่นใจและ
แนใในเรื่องของจํานวนชนิดของปลาวามีความหลากหลายมากนอยเพียงใด นอกจากนั้น
ปจจุบันสถานะของแมน้ําสาละวินยังเปนที่ตองการของบางหนวยงานที่ตองการสรางเปนเขื่อน
เพื่อกักเก็บน้ํา และเพื่อการพัฒนาพลังงาน
จากขอมูลเบื้องตนพบวาความหลากหลายของปลาในเขตลุมน้ําสาละวินนั้นเปนแหลงน้ํา
ที่มีลักษณะทางภูมิศาสตรแตกตางไปจากแมน้ําโขงและแมน้ําเจาพระยา (Fishbase.org, 2010)
ทั้งนี้เพราะมีพื้นที่อยูใกลกับสวนของเขตปลาของอินเดียดังในรายงานของ Jayaram, 1999 จึง
นับวาปนลุมน้ํที่มีวามสําคัเปอยงยิ่ในรื่อของคามหลกหายทาชีวภาที่เ
สามารถนําเปรียบเทียบกับแมน้ําสายหลักที่กลาวถึงในขางตน ตัวอยางปลาเฉพาะถิ่นที่ไมพบใน
ลุมน้ําโขงและลุมน้ําเจาพระยา เชน ปลาแคขี้หมู Erethistes maesotensis, ปลายะคุย Gagata
gasawyuh, และปลาแปบหัวกลม Cabdio morar ปนตน และการศึกษาในครั้งนี้จะเปนการ
เปรียบเทียบทั้งสามฤดูกาล
วัตถุประสงคของงานวิจัย
1. เพื่อทราบความชุกชุม (Abundance) และความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity)
ของปลาในเขตลุมน้ําสาละวิน
2. เพื่อรวบรวมขอมูลใชเปนฐานขอมูลการจัดการและอนุรักษทรัพยากรทางน้ํา และเพื่อ
การเพาะเลี้ยงปลาพื้นเมืองทองถิ่น
5
การตรวจเอกสาร
หลวงมัศยจิตรการ และ โชติ (2495) ไดรวบรวมภาพปลาเมืองไทยที่วาดขึ้นมา จํานวน
139 ภาพ ไดมีการจัดพิมพเปนหนังสือ นับเปนผลงานชุดแรกที่มีการตีพิมพรูปปลาของไทย ซึ่ง
นับวาเปนเรื่องที่นาสนใจเปนอยางมาก
Weber และ de Beaufort (1916) ไดรายงานเกี่ยวกับปลาของหมูเกาะใน อินโด-
ออสเตรเลีย ในสวนที่เปนปลากลุม Ostariophysi ที่มีปลาสวนหนึ่งมีความใกลเคียงกับปลาน้ําจืด
ที่อยูในประเทศไทย
Fowler (1934) ไดรายงานวาปลาที่พบในประเทศไทย มีปลาจํานวนมากที่ตรงกับปลาที่
แพรกระจายอยูในประเทศไทยในปจจุบัน
Day (1958) ไดรายงานเกี่ยวกับปลาของอินเดียและบริเวณใกลเคียง ในประเทศพมา และ
ประเทศศรีลังกา ซึ่งมีปลาบางชนิดที่มีความคลายคลึงกับปลาของไทยโดยเฉพาะทางภาคเหนือ
ของไทยซึ่งมีรอยตอกับประเทศพมา
Smith (1945) ไดรายงานเกี่ยวกับปลาเมืองไทย ที่เปนรายงานครั้งแรกของไทย โดยไดมี
การจัดพิมพเพิ่มเติมในป 1965 ซึ่งในที่นี้ยังมีปลาอีกหลายชนิดที่มีการสะสมอยู ที่ไมสามารถบอก
ไดวาเปนแคเพียงความแปรปรวนในเรื่องของสี
Thiemmehd (1968) ไดทําการรวบรวมชื่อปลาของไทย โดยมีการจัดพิมพเปนชื่อไทย ชื่อ
อังกฤษ และชื่อวิทยาศาสตร นอกจากนี้แลวยังมีชื่อวงศดวยซึ่งสวนนี้มีการแสดงใหเห็นไดชัดเจน
ดวยรูป จํานวน 160 รูป และมีภาพสีอีก 1 ภาพ
สมโภชน (2523) ไดทําการรวบรวมชนิดของปลาน้ําจืดที่มีคุณคาของไทย รวมทั้งการให
รายละเอียดตางๆ ที่เกี่ยวของกับตัวปลาสามารถที่จะใชเปนการตรวจสอบไดดีพอสมควร ซึ่งสวน
ใหญเปนปลาน้ําจืดที่สามารถพบเห็นไดโดยทั่วไป
Tarnchalanukit และคณะ (1980) ไดสํารวจทรัพยากรประมงกอนที่จะมีการจัดการและ
ชลชีววิทยาของแมน้ําแมแตงจังหวัดเชียงใหม พบวามีปลา 12 ครอบครัว 43 ชนิด พวกปลา
ตะเพียนพบมากที่สุดจํานวน 25 ชนิด นอกจากนั้นก็เปนพวกปลาคอ ปลากระดี่ ปลาหมอ ปลา
แขยง ปลาชอน ปลาหลด ปลากระทิง และพวกอื่นๆ
Roberts (1986) ไดศึกษาปลาในวงศ Mastacembelidae ในประเทศไทยและพมาพบวา
มีทั้งหมด 14 ชนิด ไดแกพวกปลากระทิง Mastacembelus 6 ชนิด และพวกปลาหลด
Macrognathus 8 ชนิด
Roberts (1992) ไดศึกษาปลาในวงศ Notopteridae และแยกเปน 2 สกุล 4 ชนิด
6
Suvatti (1950 และ 1981) ไดรวบรวมรายชื่อสัตวทองถิ่นของไทย และไดรวบรวมรายชื่อ
ของปลาเมืองไทย ซึ่งในจํานวนนี้มีจํานวนที่เปนปลาถึง 1059 ชนิด รวมทั้งปลาน้ําจืดและปลา
ทะเล
Kottelat (1990) ไดรายงานเกี่ยวกับปลาคอ (Nemacheilines) ที่พบในบริเวณอินโดจีน
ประเทศไทย พมา ลาว เขมร และทางตอนใตของเวียดนาม ซึ่งเปนปลาน้ําไหลที่สวนใหญแลวก็
เปนปลาที่พบอยูแลวในบริเวณนี้
อภินันท (2546) ดศึกษาความหลากหลายของชนิดปลาในเขตรักษาพันธุสัตวปาเชียง
ดาว พบปลาทั้งหมด 56 ชนิด จากกลุมปลา 16 วงศ
อภินันท และคณะ (2547) ไดทําการศึกษาความหลากหลายของชนิดปลาในเขื่อนแมงั
สมบูรณชล พบปลาทั้งหมด 68 ชนิด จาก 18 วงศ
อภินันท (2547, 2549) ไดกลาวถึงชนิดปลาในลุมน้ําสาละวินในบทความทางวิชาการ
จํานวน 64 ชนิด
อุปกรณและวิธีการ
1. การศึกษาภาคสนาม
1.1 ออกทําการสํารวจพื้นที่เพื่อกําหนดสถานีที่ทําการเก็บตัวอยาง
1.2 ออกเก็บตัวอยางตามสถานีที่กําหนดไวแลว ฤดูกาลละ 1 ครั้ง ครั้งละ 5-7 วัน
1.3 ตรวจวัดตัวอยางน้ํา ทางดานกายภาพ ดานเคมี และดานชีวภาพ บันทึกลักษณะทาง
สภาพวดลอม ปนตวา สภพภูมิอากา อุณภูมิองาก พื้ทอน้ํวาเร็ขอ
กระแสน้ํา ความลาดชันของพื้นที่ สภาพของแหลงน้ําเปนน้ํานิ่งหรือน้ําไหล และสภาพของสิ่งมีชีวิต
อื่นๆ (Needham และ Needham, 1962)
2. การศึกษาในหองปฏิบัติการ
การจําแนกชนิดปลา นําตัวอยางที่เก็บมาทําการศึกษาลักษณะที่สามารถวัดนับไดของ
ตัวอยางปลา โดยทําการ แยกระดับวงศ ระดับสกุล และระดับชนิด โดยใชเอกสารที่เกี่ยวของกับ
การวิเคราะหพรรณปลาเปนคูมือในการวิเคราะห คูมือในการวิเคราะหพรรณปลาของคณะประมง
(2528), Smith (1945), Sufi (1956), Day (1958), Jordan (1963), Taki (1974), Davidson
(1975), Misra (1976), Jayaram (1981, 1999), Kottelat (1990), Roberts (1986, 1989,
7
1992), Eschmeyer (1990) และ Nelson (2004) และเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ทําการวัดนับกับ
สัดสวนที่วัดและนับได จดบันทึกลงในเอกสาร
ทําการสํารวจเพื่อรวบรวมขอมูลเปนจํานวน 3 ครั้งในรอบ 1 ป โดยเลือกจุดสํารวจตาม
ความเหมาะสมของพื้นที่ แบงจุดสํารวจเปน 4 จุด ใชอวนขนาดตา 0.5 ซม. ยาว 100 เมตร ลอม
เปนวงกลมตามจุดที่สุมตัวอยาง รวบรวมตัวอยางปลาโดยใชเครื่องปนไฟขนาด 1 กิโลวัตต จํานวน
1 เครื่อง ชอตภายในวงกลมในเวลาหนึ่งชั่งโมง นําปลามาหา standing crop, Family Group,
Diversity index, F/C ratio (Lagler, 1979)
คา standing crop คิดจาก ผลผลิตของปลาที่จับไดแลวหารดวยขนาดพื้นที่ที่จับปลา คิด
เทียบเปนแฮกแตร
โครงสรางของประชากรปลา (Family Group) นําตัวอยางปลาที่ไดจากการใชอวนลอมจับ
และชอตดวยกระแสไฟฟาเปนเวลา 1 ชั่วโมง มาจําแนกออกเปน 6 กลุมไดแก
1. กลุมปลาตะเพียน (Carps) ประกอบดวยปลาวงศ Cyprinidae
2. กลุมปลาคอ (Stone loaches) ประกอบดวยปลาวงศ Balitoridae
3. กลุมปลาหมู (Spiny loaches) ประกอบดวยปลาวงศ Cobitidae
4. กลุมปลาหนัง (Catfishes)ระกอบดวยปลาวศ Amblycipitidae, Erethistidae,
Siluridae, Pangasiidae, Clariidae, Sisoridae และ Bagridae
5. กลุมปลากะพง (Percids) ประกอบดวยวงศ Ambassidae, Cichlidae, Channidae,
Gobiidae,
6. ลุอื่ (Miscellaneous) ดศอื่ ยัมิดล ดก
Mastacembelidae, Belonidae, Monopteridae, Notopteridae, Anguillidae,
8
ภาพที่ 1 สถานีเก็บตัวอยางในการทดลอง ในเขตลุมน้ําสาละวิน
โครงสรางองประชากรปลาตามลัษณะการกินอาหาร โดยกรนําปลาที่ไดจากการ
สํารวจทําการผากระเพาะเพื่อดูชนิดของอาหารที่กินเขาไป และ/หรือการศึกษาจากเอกสารที่มี
รายงานอยูแลว จากนั้นจึงแบงออกเปน 4 กลุม (ตารางที่ 1)
1. ปลากินเนื้อ (Carnivorous) เปนกลุมปลาที่กินปลาชนิดอื่นๆ เปนอาหารเปนหลัก เปน
กลุมผูลาเชน ปลากระสูบสาละวิน (Hampala salweenensis), ปลาแค (Bagarius yarrelli), และ
ปลากดคังสาละวิน (Hemibagrus micropthalmus) เปนตน
9
2. ปลากินพืช (Herbivorous) เปนกลุมปลาผูผลิตเบื้องตน กินพืชน้ํา สาหราย หรือแพลงค
ตอนเปนอาหาร เชน ปลามูด Garra sp., ปลามอน (Scaphiodonichthys burmanicus), และ
ปลาสอพมา (Crossocheilus burmanicus) เปนตน
3. ปลากินทั้งพืชและสัตว (Omnivorous) เปนกลุมปลาที่กินทั้งพืชและสัตว รวมทั้งบาง
นิดกินซพืสัว ชขอมื (Folifer brevifilis), สาละวิ
(Hypsibarnus salweenensis), ปลาจาด (Poropuntius spp.) เปนตน
4. ปลากินแมลงและสัตวไมมีกระดูกสันหลังในน้ํา (Invertivorous) เปนกลุมปลาที่กินตัว
ออนแมลงน้ํา แมลงบก กุง ปู หรือหอยเปนอาหาร เชน ปลาคอ (Schistura sp.), และปลาแคติ
หิน (Glyptothorax sp.) เปนตน
คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ (Diversity index, H’) (ตามวิธีของ Shanon-Weiner
(1948)) หาไดจากสมการ
เมื่อ; = คาดัชนีความหลากหลาย (Diversity index)
= จํานวนตัวปลาที่พบในแตละชนิด
คาดัชนีการกระจายตัว (Eveness Index; EH) (ตามวิธีของ Shanon-Weiner (1948)) หา
ไดจากสมการ
เมื่อ; = คาดัชนีการกระจายตัว
= คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ
= จํานวนชนิดที่พบในแตละสถานี
คา F/C ratio (ตาม Lagler,(1979)) คือ อัตราสวนระหวางน้ําหนักปลากินพืช (F = forage
species รวมกับปลาที่กินซากพืซากสัตว) ตอน้ําหนักปลากินนื้อ (C = carnivorous หรื
piscivorous species และปลากินสัตวไมมีกระดูกสันหลังในน้ํา (invertevorous))
10
ผลการทดลอง
สถานีที่สํารวจ
แมน้ําสาละวินเปนแมน้ําที่แตกตางจากแมน้ําสายอื่นๆ ของประเทศไทย คือแมน้ําโขงและ
แมน้ําเจาพระยา คือมีน้ําไหลแรงมากบางแหงที่มีโขดหินใตน้ําจะมีน้ําว การเดินทางทางเรือ
ในชวงฤดูรอน คอนขางอันตรายจากโขดหินที่โผลขึ้นพนน้ํา และชองทางเดินเรือที่แคบ สวนในชวง
ฤดูฝนนั้นจะมีปริมาณน้ํามากจึงไมเปนอันตรายตอการเดินทาง บริเวณริมฝงแมน้ําชันมาก
บางสวนมีทรายพัดมาทับถม และสามารถใชเปนแหลงเพาะปลูกไดหลังน้ําลด ประชาชนของทั้ง
สองฝงมีนอยมากโดยมีหมูบานแมสามแลบและหมูบานสบเมย ซึ่งเปนหมูบานที่มีขนาดใหญที่สุด
ที่ติดกับแมน้ําสาละวิน แตจํานวนประชากรไมมากนัก สวนฝงพมาไมมีหมูบานที่ชัดเจน สวนใหญ
เปนเขตทหารที่แบงออกเปนการปกครองแตละเผา สวนการสํารวจความหลากหลายของชนิดพันธุ
ปลาในระบบแมน้ําสาละวินในเขตประเทศไทยนี้ ไดทําการศึกษาและเก็บตัวอยางโดยเริ่มตั้งแต
บริเวณผาแดงซึ่งเปนจุดสิ้นสุดของชายแดนไทย และไปสิ้นสุดยังบริเวณปากแมน้ํายวม ซึ่งเปน
แมน้ําสาขาของแมน้ําเมย และลักษณะทางกายภาพของบริเวณที่ ทําการศึกษาจะแสดงอยูใน
ตารางที่ 1-3
ตารางที่ 1 สถานี ที่ทําการเก็บตัวอยางปลาในแมน้ําสาละวิน และลําน้ําสาขาในชวงฤดูหนาว
สถานี
ความสูง
พิกัด
พื้นทองน้ํา N E
1 น้ําสาละวิน (ผาแดง) ทราย โคลน 92 18
o
49’ 03.9’’ 97
o
39’ 18.9’’
2 เกาะกลางน้ํา หินขนาดเล็ก หินขนาดกลาง 88 18
o
51’ 03.4’’ 97
o
38’ 35.8’’
3 หวยผาแดง ทราย โคลน 84 18
o
48’ 71.8’’ 97
o
39’ 14.3’’
4 สบแงะ กรวด ทราย หินกลาง 119 18
o
28’ 85.7’’ 97
o
63’ 98.6’’
5 หวยแมสะเกิบ หินเล็ก กรวด ทรา 62 18
o
15’ 17.7’’ 97
o
67’ 80.5’’
6 หวยแมปอ กรวด ทราย หินเล็ก 52 18
o
01’ 66.0’’ 97
o
72’ 22.7’’
7 หวยฮูวาลู หินเล็ก กรวด ทราย 48 17
o
80’ 54.1’’ 97
o
72’ 00.8’’
8 หวยพะละอึ ทราย ทรายละเอียด โคลน 55 17
o
84’ 07.0’’ 97
o
69’ 38.9’’
9 หวยแหง ทราย ดิน 55 17
o
88’ 75.7’’ 97
o
67’ 36.6’’
10 หวยแมตี หินเล็ก กรวด 53 17
o
91’ 63.3’’ 97
o
68’ 71.6’’
11 หวยแมปว หินเล็ก ทราย 78 17
o
95’ 74.9’’ 97
o
73’ 61.2’’
11
ตารางที่ 2 สถานี ที่ทําการเก็บตัวอยางปลาในแมน้ําสาละวิน และลําน้ําสาขาในชวงฤดูรอน
สถานี ความสูง
พิกัด
ที่ พื้นทองน้ํา N E
1 เกาะกลางน้ํา หินขนาดเล็ก หินขนาดกลาง 88 18
o
51’ 03.4’’ 97
o
38’ 35.8’’
2 หวยผาแดง ทราย โคลน 92 18
o
49’ 03.9’’ 97
o
39’ 18.9’’
3 หวยแมสะมาด ทราย กรวด หินกอนเล็ก 131 18
o
31’ 90.9’’ 97
o
54’ 54.2’’
4 หวยแมแตะหลวง
กรวด ทราย หินกอนเล็ก 72 18
o
33’ 93.9’’ 97
o
55’ 66.5’’
5 หวยแหง ทราย ดิน 55 17
o
88’ 75.7’’ 97
o
67’ 36.6’’
6 สบแงะ กรวด ทราย หินกลาง 96 18
o
28’ 84.3’’ 97
o
63’ 96.7’’
7 หวยอูลู ทราย กรวด หินเล็ก 151 18
o
32’ 22.2’’ 97
o
61’ 35.6’’
8 หวยแมสะเกิบ หินเล็ก กรวด ทราย 62 18
o
15’ 17.7’’ 97
0
67’ 80.5’’
9 หวยอีนวล กรวด หินเล็ก ทราย 97 18
o
07’ 95.6’’ 97
o
40’ 70.0’’
10 หวยโกเฮ กรวด หินเล็ 61 18
o
05’ 08.0’’ 97
o
70’ 89.2’’
11 หวยแมตี หินเล็ก กรวด 53 17
o
91’ 63.3’’ 97
o
68’ 71.6’’
12 หวยฮูวาลู หินเล็ก กรวด ทราย 48 17
o
80’ 54.1’’ 97
o
72’ 00.8’’
13 หวยปาแต กรวด หินเล็ก ทราย 55 17
o
53’ 22.3’’ 97
o
40’ 50.3’’
14 หวยมอกระโล หินเล็ก กรวด ทรา 42 17°51'10.2" 97°41'15.2"
15 สบเมย กรวด ทราย 72 17
o
83’ 33.4’’ 97
o
69’ 42.2’’
16 หวยแปะกอ กรวด หินเล็ก ทรา 99 17
o
50’ 75.2’’ 97
o
41’ 48.2’’
17 หวยพะละอึ ทราย ทรายละเอียด โคลน 55 17
o
84’ 07.0’’ 97
o
69’ 38.9’’
18 หวยกกมอ ทราย กรวด 57 17
o
48’ 32.7’’ 97
o
43’ 20.8’’
ความหลากหลายของชนิดปลา
นการศึกษครั้งนี้พบปลทั้งสิ้7 อันดับ 18 วงศ 49 สกุล 82 ชนิ(ตารางที่ 4 แล
ตารางผนวกที่ 1 ถึง 43) อันดับแรกไดแกอันดับ Osteoglossiformes พบเพียง 1 วงศ ไดแก วงศ
Notopteridae พบเพียงชนิดเดียวไดแก Notopterus notopterus (ปลาสลาด) อันดับที่สองไดแก
อันดับ Anguilliformes พบเพีย1 วงศ ไดแก วงศ Anguillidae พบชนิดเดียว ไดแก Anguilla
bengalensis (ปลาสะแงะ)
12
ตารางที่ 3 สถานี ที่ทําการเก็บตัวอยางปลาในแมน้ําสาละวิน และลําน้ําสาขาในชวงฤดูฝน
สถานี
ความสูง
พิกัด
ที่ พื้นทองน้ํา N E
1 หวยแมปาน หินเล็ก กรวด หินใหญ 246 17
o
98’ 92.9’’ 97
o
79’ 50.5’’
2 หวยทากา กรวด ทราย หินเล็ก 107 18
o
48’ 90.8’’ 97
o
39’ 48.7’’
3 หวยโปเปอ กรวด หินเล็ 124 18
o
39’ 68.1’’ 97
o
44’ 73.2’’
4 หวยแมแตะ กรวด ทราย หินกอนเล็ก 72 18
o
33’ 93.9’’ 97
o
55’ 66.5’’
5 สบแงะ กรวด ทราย หินกลาง 120 18
o
28’ 85.7’’ 97
o
63’ 98.3’’
6 หวยแมสะเกิบ หินเล็ก กรวด ทราย 137 18
o
15’ 49.6’’ 97
o
68’ 12.4’’
7 หวยแมปอ กรวด ทราย หินเล็ก 52 18
o
01’ 66.0’’ 97
o
72’ 22.7’’
8 หวยแมปว ริมน้ํา ทราย โคลน หินเล็ก 78 17
o
95’ 74.9’’ 97
o
73’ 61.2’’
9 หวยแมปว ในหว หินเล็ก ทราย 89 17
o
95’ 50.8’’ 97
o
74’ 11.6’’
10 หวยแมตี หินเล็ก กรวด 72 18
o
33’ 93.9’’ 97
o
55’ 66.5’’
11 สบยวม ทราย กรวด 53 17
o
78’ 64.6’’ 97
o
74’ 36.0’’
12 หวยจะโยโกร หินเล็ก กรวด 120 17
o
78’ 71.4’’ 97
o
74’ 27.5’’
อันดับ Cypriniformes เปนอันดับที่พบวามีสมาชิกมากที่สุดจากการสํารวจในครั้งนี้ โดย
ในการสํารวจพบวามีปลาทั้งสิ้น 3 วงศ 28 สกุล 53 ชนิด วงศแรก ไดแก วงศ Cyprinidae พบ
ทั้งสิ้น 21 สกุล ไดแก สกุBangana พบ Bangana devdevi (ปลาหวา) เพียงชนิดเดียว สกุ
Barilius พบ Barilius ornatus (ปลาน้ําหมึก) ชนิดเดียว สกุCabdio Cabdio morar (ปล
แปบหัวกลม) เพียงชนิดเดียว สกุล Chagunius พบ Chagunius baileyi (ปลาขิ้ง) เพียงชนิดเดีย
สกุล Carossocheilus พบCarossocheilus burmanicus (ปลาสอ) เพียงชนิดเดียว สกุล Danio
พบ Danio albolineatus (ปลาซิวมุก) เพียงชนิดเดียว สกุล Devario พบ 3 ชนิด ไดแก Devario
aequipinnatus (ปาซิวใบไผ), Devario annandalei (ลาซิวใบไผอนันดา)ละ Devario
malabaricus (ปลาซิวใบไผลายหินออน) สกุล Folifer Folifer brevifilis (ปลาขอมือนาง)
เพียงชนิดเดียว สกุล Garra พบ 3 ชนิด ไดแก Garra nasuta (ปลาเลียหินครีบหลังจุด), Garra
notata (ปลาเลียหิน) และ Garra salweenica (ปลามูดสาละวิน) สกุHampalaHampala
salweenensis (ปลากระสูบสาละวิน)พียงชนิดเดียว สกุล Labeo พบ 5 ชนิด ไดแก Labeo
chrysophekadion (ปลาเพี้ย), Labeo calbasu (ปลากาดํา), Labeo dyocheilus (ปลาบัว),
13
Labeo pierrei (ปลาบัว) และ Labeo sp. (ปลาบัว) สกุMystacoleucus พบชนิดเดียว ไดแก
Mystacoleucus argenteus (ปลาหนามหลัง) สกุล Neolissocheilus พบ Neolissocheilus
ภาพที่ 2 ชนิดปลาที่พบในลุมน้ําสาละวินในเขตประเทศไทย
14
ภาพที่ 2 (ตอ)
15
ภาพที่ 2 (ตอ)
16
ภาพที่ 2 (ตอ)
17
ภาพที่ 2 (ตอ)
18
ภาพที่ 2 (ตอ)
19
ภาพที่ 2 (ตอ)
20
stracheyi (ปลาพลวงหิน)พียงชนิดเดียว สกุล Poropuntiusบ 4 ชนิไดแก Poropuntius
hathe (ปลาจาด), Poropuntius chondrorhynchus (ปลาจาด), Poropuntius scapanognathus
(ปลาจาดหางดํา) และ Poropuntius sp. (ปลาจาด) สกุPuntius บ 2 ชนิด ไดแก Puntius
orphoides (ปลาแกมช้ํา) และ Puntius stoliczkanus (ปลามะไฟ) สกุล Raiamas พบ Raiamas
guttatus (ปลานางอาว) เพียงชนิดเดียว สกุSalmostoma พบ Salmostoma sardinella (ปลา
แปบสาละวิน) เพียงชนิดเดียว สกุล Scaphiodonichthys พบ Scaphiodonichthys burmanicus
(ปลาม่ําพมา) เพียงชนิดเดียว สกุTor พบ 2 ชนิไดแก Tor tambra (ปลาเวียน) และ Tor
tambroides วงศ Balitoridae พบ 4 สกุล Balitora พบ Balitora burmanica (ปลาจิ้งจกพมา)
เพียงชนิดเดียว สกุล Homaloptera พบ Homaloptera lineata (ปลาจิ้งจก) เพียงชนิดเดียว สกุล
Neonoemacheilus พบ Neonoemacheilus labeosus (ปลาคอปากหนา) เพียงชนิดเดียว สกุล
Schistura พบ 8 ชนิด ไดแก Schistura alticrista (ปลาคอ), Schistura kengtungensis (ปลาคอ
เชียงตุง), Schistura maepaiensis (ปลาคอแมน้ําปาย), Schistura mahnerti (ปลาคอแถบถี่),
Schistura moeiensis (ปลาคอแมน้ําเม), Schistura poculi (ปลคอแถบถี่), Schistura
vinciguerrae (ปลาคอวินซิงเกอรา) และ Schistura sp. (ปลาคอลายเสือ) วงศ Cobitidae พบ
ทั้งสิ้น 4 สกุล ไดแก สกุล Acanthocobitis พบ Acanthocobitis zonalternans พียงชนิดเดีย
สกุล Lepidocephalichthys พบ Lepidocephalichthys hasselti เพียงชนิดเดียว สกุล Botia พบ
3 ชนิด ไดแก Botia histrionica (ปลาหมูฮองเต), Botia kubotai (ปลาหมูอารีย), และ Botia
rostrata (ปลาหมูจักรพรรดิ) สกุSyncrossus คือ Syncrossus berdmorei (ปลาหมู) และสกุ
Pangio พบ Pangio pangia เพียงชนิดเดียว
อันดับ Siluriformes พบปลาจากการสํารวจมากถึง 6 วงศ ไดแก วงศ Amblycipitidae
พบ Amblyceps frenatum (ปลาดัก) เพียงชนิดเดียว วงศ Bagridae พ3 สกุไดแก สกุ
Mystus พบ Mystus cavasius (ปลาแขยงใบขาวสาละวิน) เพียงชนิดเดียว สกุล Hemibagrus
พบ Hemibagrus micropthalmus (กดก) เพีนิดีย กุRita พบ Rita
sacerdotum (ปลาหมูสาละวิน) เพียงชนิดเดียว สกุล Sperata Sperata acicularis (ปลาก
หัวเสียม) เพียงชนิดเดียว วงศ Erethistidae พบ Erethistes maesotensis (ปลาแคขี้หมู) เพีย
ชนิดเดียว วงศ Schilbeidae พบ Eutropiichthys burmanicus (ปลาสังกะวาดหนาหนู) เพียงชนิด
เดียว วงศ Sisoridae พบ 4 สกุล ไดแก สกุBagarius พบ 2 ชนิด ไดแก Bagarius bagarius
(ปลาแคควาย) และ Bagarius yarrelli (ปลาแควัว) สกุล Exostoma พบ Exostoma berdmorei
(ปลาคางคาวหนวดเขี้ยว) เพียงชนิดเดียว สกุล Gagata gasawyuh (ปลายะคุย) เพียงชนิดเดีย
สกุ Glyptothorax 6 นิดก Glyptothorax burmanicus (แคติหิมา),
21
Glyptothorax dorsalis (ปลาแคติดหิน), Glyptothorax minimaculatus (ปลาแคติดหินลายหิ
ออน), Glyptothorax rugimentum (ปลาแคติดหินทองกลม), Glyptothorax trilineatus (ปลาแค
ติดหินสามแถบ) แลGlyptothorax sp. (ปลาแคติดหิน) วงศ Siluridae บ 2 สกุลไดแก สกุล
Wallago พบ Wallago attu เพียงชนิดเดียว และสกุล Ompok Ompok pabda เพียงชนิด
เดียว
อันดับ Synbranchiformes พบ 2 วงศ ไดแก วงศ Mastacembelidae พบ 1 สกุล 3 ชนิ
ไดแก Mastacembelus alboguttatus (ปลากระทิงลายดอกไม), Mastacembelus armatus
(ปลากระทิง), Mastacembelus tinwini (ปลากระทิงภูเขาวงศ) วงศ Synbranchidae พบเพียง 1
ชนิดดแก Monopterus albus (ปลาไหล) สวนอันดับ Beloniformes วงศ Belonidae พบ
Xenentodon cancilla (ปลากระทุงเหว) เพียงชนิดเดียว
อัดั Perciformes สํทั้สิ้ 5 ศ 6 นิ ไดก ศ
Ambassidae พบ Parambassis เพียงสกุลเดียว ไดแก Parambassis notatus (ปลาแปนแกว)
แลParambassis vollmeri (ปลปนกวขีดน้ํตาล) วงศ Cichlidae พบ Oreochromis
niloticus (ปลานิล) เพียงชนิดเดียว วงศ Channidae พบ Channa gachua (ปลากาง) เพียงชนิ
เดียว วงศ Gobiidae พบ Glossogobius giuris (ปลาบูหิน) เพียงชนิดเดียว (ตารางที่ 4)
ปลาเฉพาะถิ่น ปลาตางถิ่น และปลาเศรษฐกิจ
พบชนิดของปลามากกวาครึ่งหนึ่งของชนิดปลาทั้งหมดของตอแมน้ําสาละวิน ไดแกปล
ตูหนา (Anguilla bengalensis), ลาบหั (Cabdio morar), สม
(Crossocheilus burmanicus), ปลามูด (Garra spp.) (ตารางที่ 4) พบเพียงไมกี่ชนิดที่มีกา
แพรกระจายในทั้งสามลุมน้ําหลักของประเทศไทยชน ปลาสลาด (Notopterus notopterus),
ปลามุมหมา(Puntius stoliczkanus), ลากาดํา (Labeo chrysophekadion), ลากา
(Channa gachua), และปลาพลวง (Neolissocheilus stracheyi) เปนตน สวนชนิดพันธุตางถิ่นที่
ารศึรั้นี้มีนิคืลาบา (Leptobarbus hoevenii) นิ
(Oreochromis niloticus) ปลาสวนใหญพบวามักพบอยูทั่วไป เชน ปลากาง (Channa gachua),
ปลคยัษ (Bagarius yarrelli), คติหิ (Glyptothorax spp.),
(Neolissocheilus stracheyi) เปนตน สวนบางชนิดพบไดนอยและจํานวนตอชนิดนอย เชน ปล
ตูหนา (Anguilla bengalensis), ปลาหมูสาละวิน (Rita sacerdotum) เปนตน (ตารางที่ 4)
22
ตารางที่ 4 ชนิดปลาที่พบในลุมแมน้ําสาละวินในเขตประเทศไทย (*=Fishbase.org, 2010)
Order/Family ชื่อวิทยาศาสตร ชื่อไทย อาหาร* การกระจาย* สถานะ**
Osteoglossiformes
Notopteridae Notopterus notopterus ฉลา CAR CKS CO
Anguilliformes
Anguillidae Anguilla bengalensis
e
ตูหนา CAR S RA
Cypriniformes
Cyprinidae Bangana devdevi หวา HER KS CO
Barilius ornatus น้ําหมึก INS S CO
Cabdio morar แปบหัวกลม INS S CO
Chagunius baileyi ขิ้ง INS S CO
Crossocheilus burmanicus สอพมา OMN S CO
Danio albolineatus ซิวใบไผ INS CKS RA
Devario aequipinnatus ซิวใบไผ INS CKS CO
Devario annandalei ซิวใบไผ INS KS RA
Devario malabaricus ซิวใบไผ INS CKS RA
Folifer brevifilis
e
ขอมือนาง OMN KS CO
Garra nasuta มูด HER S CO
Garra notata มูดหลังจุด HER S CO
Garra salweenica มูดสาละวิน HER S CO
Hampala salweenensis กระสูบสาละวิน CAR S RA
Hypsibarbus salweenensis
ตะพากสาละวิน OMN S CO
Labeo calbasu
e
กาดํา HER S RA
Labeo chrysophekadion
e
กาดํา HER CKS CO
Labeo pierrei หวา HER KS CO
Labeo sp. หวา HER S CO
Labeo dyocheilus หวา HER KS CO
Leptobarbus hoevenii
Aliens
บา INS CKS RA
Mystacoleucus argenteus หนามหลัง INS S CO
Neolissocheilus stracheyi
e
พลวง HER CKS CO
Osteobrama feae ไขออง INS S CO
Poropuntius chondrorhynchus
จาด OMN S CO
Poropuntius hathe จาด OMN S CO
Poropuntius scapanognathus จาด OMN S CO
Poropuntius sp. จา OMN S CO
Poropuntius cf. genyognathus
จาด OMN S CO
23
ตารางที่ 4 ชนิดปลาที่พบในลุมแมน้ําสาละวินในเขตประเทศไทย (ตอ) (*=Fishbase.org, 2010)
Order/Family ื่อวิทยาศาสตร ชื่อไทย อาหาร* การกระจาย* สถานะ**
Puntius orphoides แกมช้ํา INS CKS CO
Puntius stoliczkanus มะไฟ INS CKS CO
Raiamas guttatus นางอาว CAR CKS CO
Salmostoma sardinella แปบสาละวิน INS S CO
Scaphiodonichthys burmanicus
e
มอนสาละวิน HER CS CO
Tor tambra
e
เวียน OMN CKS CO
Tor tambroides
e
เวียน OMN CKS CO
Balitoridae Balitora burmanicus จิ้งจกสาละวิน INS S CO
Homaloptera lineata จิ้งจกสองแถบ INS S RA
Neonoemacheilus labeosus คอปากหนา INS S CO
Schistura cf. alticrista คอ INS S RA
Schistura kengtungensis คอแกงตุง INS S CO
Schistura maepaiensis คอแมปาย INS S CO
Schistura mahnerti คอ INS CS CO
Schistura moeiensis คอแมเมย INS S CO
Schistura poculi คอแถบหนาถี่ INS CKS CO
Schistura vinciguerrae คอ INS S CO
Schistura sp1. คอ INS S CO
Schistura sp2. คอ INS S CO
Cobitidae Acanthocobitis zonalternans อีด INS CKS RA
Syncrossus berdmorei หมูลายเสือจุด INS CS RA
Botia kubotai หมูลายเมฆ INS S RA
Botia rostrata หมูฮองเต INS S RA
Botia histrionica หมูจักรพรรดิ INS S RA
Lepidocephalichthys berdmorei อีด INS CS RA
Siluriformes
Amblycipitidae Amblyceps foratum ดัก INS S RA
Bagridae Hemibagrus micropthalmus
e
กดคังสาละวิน CAR S RA
Mystus cavasius แขยงใบขาว CAR S RA
Sperata acicularis
e
กดหัวเสียม CAR S CO
Rita sacerdotum
e
หมูสาละวิน CAR S RA
Clariidae Clarias batrachus ดุกดาน CAR CKS RA
Erethistidae Erethistes maesotensis แคขี้หมู INS S CO
Schilbeidae Eutropiichthys burmanicus
e
หวีเกศพมา CAR S CO
24
ตารางที่ 4 ชนิดปลาที่พบในลุมแมน้ําสาละวินในเขตประเทศไทย (ตอ) (*=Fishbase.org, 2010)
Order/Family ชื่อวิทยาศาสตร ชื่อไทย อาหาร* การกระจาย* สถานะ**
Siluridae Ompok pabda
e
ปลาเนื้อออน CAR S RA
Sisoridae Bagarius yarrelli
e
แคควาย CAR CKS CO
Gagata gasawyuh ยะคุย INS S CO
Glyptothorax burmanicus แคติดหินพมา INS S CO
Glyptothorax dorsalis แคติดหิน INS CKS CO
Glyptothorax minimaculatus แคติดหิน INS S CO
Glyptothorax rugimentum แคติดหิน INS S CO
Glyptothorax sp. แคติดหิน INS S CO
Glyptothorax trilineatus แคติดหินสามแถบ INS CKS CO
Exostoma berdmorei คางคาวหนวดเขี้ยว INS S RA
Beloniformes
Belonidae Xenentodon cancilla กระทุงเหว INS CKS RA
Mastacembeliformes
Mastacembelidae Mastacembelus alboguttatus
e
กระทิงลายดอกไม INS S RA
Mastacembelus armatus
e
กระทิงลาย INS CKS CO
Mastacembelus tinwini
e
กระทิง INS S CO
Synbranchidae Monopterus albus ไหล INS CKS RA
Perciformes
Ambassidae Parambassis notatus แปนแกว INS S RA
Parambassis vollmeri แปนแกว INS S RA
Cichlidae Oreochromis niloticus Aliens นิล OMN CKS RA
Gobiidae Glossogobius giuris บูหิน INS CKS RA
Channidae Channa gachua กาง CAR CKS CO
หมายเหตุ การกระจาย C=ลุมน้ําเจาพระยา, K=ลุมน้ําโขง, S=ลุมน้ําสาละวิน
**= สถานะจากการศึกษาในครั้งนี้
CO (common species) = พบทั่วไป, RA (rare species) = พบนอย
e = ปลาเศรษฐกิจหลักของแมน้ําสาละวิน
ลาเศรษฐกิจของลุมน้ําสาละวินเปนปลาที่มีขนาดคอนขางใหญ หรือขนาดใหญ เช
ปลากดคังสาละวิน (Hemibagrus micropthalmus), ปลาคม (Tor tambroides), ปลาพลวง
(Neolissocheilus stracheyi), ปลาหมูสาละวิน, ปลาแคยักษ และปลาสะแงะ หรือปลาตูหน
25
เปนตน ปลาเหลานี้จะสงออกมาขายในเขตพื้นที่ตางๆ และเปนปลาที่มีราคาสูงกวาปลาจากแมน้ํ
อื่น ทั้งแมน้ําเจาพระยาและแมน้ําโขง สวนปลาที่มีขนาดเล็ก เชนกลุมปลามูด (Garra spp.), ปลา
คอ (Schistura spp.), ลามอ (Scaphiodonichthys burmanicus), และปาสอพมา
(Crossocheilus burmanicus) เปนตน (ตารางที่ 4) สวนใหญมักจับกินกันในหมูบาน หรือขาย
ภายในทองถิ่นเทานั้น
ความชุกชุมของปลา
นิดลาที่มีความชุกชุมมาที่สุดคือปลาน้ําหมึ (Barilius ornatus) พบ 1,138 ตั
รองลงมาเปนปลาคอแมน้ําเมย (Schistura moeiensis) พบ 1,064 ตัว และปลาคอแมน้ําปา
(Schistura maepaiensis) พบ 501 ตัว สวนปลากลุมที่พบนอยกวา 500 ตัว แตมากกวา 200 ตัว
เชนในปล
ปลาแคติดหิน (Glyptothorax dorsalis), ปลาแปบหัวกลม (Cabdio morar), ปล
จิ้งจกสาละวิน (Balitora burmanicus), ปลามอน หรือปลามอมสาละวิน (Scaphiodonichthys
burmanicus), ปลาสอสาละวิน (Crossocheilus burmanicus) และปลามูดหลังจุด (Garra
nasuta) เปนตน (ภาพที่ 3) สวนปลาชนิดอื่นๆ พบเปนจํานวนนอยตอชนิด และอาจพบไดเพีย
บางครั้งและบางฤดูกาล (ตารางที่ 5, 6 และ 7)
ภาพที่ 3 ชนิดของปลาที่มีความชุกชุมมากที่สุดเรียงตามลําดับโดยพบมากกวา 100 ตัวอยางจาก
ทุกสถานีที่สํารวจและทุกฤดูกาล
26
ตารางที่ 5 ปริมาณของปลาแตละชนิดที่พบในฤดูหนาว (จํานวนตัวปลา E10 ตัว; D 10-49 ตัว; C 50-
100 ตัว; B 101-199 ตัว; A 200 ตัว)
Species
น้ําสาละวิน (ผาแดง)
เกาะกลางน้ําสาละวิน
หวยผาแดง
สบแงะ
หวยแมสะเกิบ
หวยแมปอ
หวยฮูวาลู
หวยพะละอึ
หวยแหง
หวยแมตี
หวยแมปว
แมสามแลบ
Osteoglossiformes/Notopteridae
Notopterus notopterus
E
Anguilliformes/Anguillidae
Anguilla bengalensis
E
Cypriniformes/Cyprinidae
Bangana devdevi
E
E
Barilius ornatus D
C E B D
D
E D E
Cabdio morar D
E
Chagunius baileyi
E
Crossocheilus burmanicus E E
E
E
Danio albolineatus
E
E
Devario aequipinnatus
E
Hampala salweenensis
D
Hypsibarbus salweenensis
E
Labeo calbasu
E
Labeo chrysophekadion
E
Labeo dyocheilus
E D E E
E
Labeo pierrei
E
C D
E E
Labeo sp.
Mystacoleucus argenteus E
E
E E
Neolissocheilus stracheyi E
E E E E
D E E
Osteobrama feae
E
Poropuntius chondrorhynchus
E
Poropuntius scapanognathus
D E
Poropuntius sp.
D
E
Poropuntius cf. genyognathus
Puntius orphoides
E
E
E
Puntius stoliczkanus
E
Raiamas guttatus E
E
E
Salmostoma sardinella
Scaphiodonichthys burmanicus
E
E E C E
D D E
Tor tambra
Tor tambroides E
E
E
E
E
E
Balitoridae
Balitora burmanica
D
E
Homaloptera lineata
C
Neonoemacheilus labeosus E E
Schistura cf. alticrista
C
D
Schistura kengtungensis
E
Schistura maepaiensis
E
Schistura mahnerti
E
E D E
E
Schistura moeiensis
C
E
A
Schistura poculi
D
Schistura sp1.
D
Schistura sp2.
E
E
Schistura vinciguerrae
D
E D
Acanthocobitis zonalternans
E
27
ตารางที่ 5 ปริมาณของปลาแตละชนิดที่พบในฤดูหนาว (จํานวนตัวปลา E10 ตัว; D 10-49 ตัว; C 50-
100 ตัว; B 101-199 ตัว; A 200 ตัว) (ตอ)
Species
น้ําสาละวิน (ผาแดง)
เกาะกลางน้ําสาละ
วิน
หวยผาแดง
สบแงะ
หวยแมสะเกิบ
หวยแมปอ
หวยฮูวาลู
หวยพะละอึ
หวยแหง
หวยแมตี
หวยแมปว
แมสามแลบ
Cobitidae
Syncrossus berdmorei
Botia histrionica E
Botia kuboti
Botia rostrata
Lepidocephalichthys hasselti
Siluriformes/Amblycipitidae
Amblyceps foratum
Bagridae
Hemibagrus micropthalmus E
Mystus cavasius E
Sperata acicularis E E E
Rita sacerdotum E
Erethistidae E
Erethistes maesotensis
Schilbeidae
Eutropiichthys burmanicus E E
Siluridae
Ompok pabda E
Wallago attu E
Sisoridae E
Bagarius yarrelli E E
Exostoma berdmorei D E
Gagata gasawyuh E E E E
Glyptothorax burmanicus
Glyptothorax dorsalis E D B D D E C
Glyptothorax minimaculatus E
Glyptothorax rugimentum D
Glyptothorax sp. D D E D
Glyptothorax trilineatus E E E D
Beloniformes/Belonidae
Xenentodon cancilla E
Mastacembeliformes/Mastacembelidae
Mastacembelus alboguttatus E
Mastacembelus armatus E E D E E
Mastacembelus tinwini E E E
Monopteridae
Monopterus albus E
Perciformes /Gobiidae
Glossogobius giuris
Channidae
Channa gachua E E E E D E E
28
ตารางที่ 6 ปริมาณของปลาแตละชนิดที่พบในฤดูรอน (จํานวนตัวปลา E10 ตัว; D 10-49 ตัว; C 50-
100 ตัว; B 101-199 ตัว; A 200 ตัว)
Species
หวยแมแตะหลวง
ปาแต
สบแงะ
เกาะกลางน้ํา
หวยโกเฮ
หวยแมตี
หวยแหง
หวยอูลู
หวยผาแดง
หวยแปะกอ
หวยมะละอึ
หวยแมสะเกิบ
หวยมอกระโล
หวยอีนวล
หวยอูลู
หวยกกมอ
Osteoglossiformes/Notopteridae
Notopterus notopterus
Anguilliformes/Anguillidae
Anguilla bengalensis
Cypriniformes/Cyprinidae
Bangana devdevi
Barilius ornatus D D D B E B B D D D
Cabdio morar D D D D D D D C
Chagunius baileyi
Crossocheilus burmanicus B E D E D E E E E E D
Danio albolineatus
Devario aequipinnatus
Devario annandalei
Devario malabaricus
Folifer brevifilis E
Garra salweenica
Garra nasuta E E E
Garra notata
Hampala salweenensis
Hypsibarbus salweenensis
Labeo calbasu
Labeo chrysophekadion
Labeo dyocheilus E D E E E
Labeo pierrei E
Labeo sp.
Mystacoleucus argenteus E E C E E E E E D
Leptobarbus hoevenii
Neolissocheilus stracheyi
Osteobrama feae E
Poropuntius chondrorhynchus
Poropuntius hathe E
Poropuntius scapanognathus E E
Poropuntius sp.
Poropuntius cf. genyognathus
Puntius orphoides E E D E
Puntius stoliczkanus
Raiamas guttatus E E E E E E E E
Salmostoma sardinella E
Scaphiodonichthys burmanicus C E E E E E D E D D
Tor tambra E
Tor tambroides D E E E
Balitoridae
Balitora burmanicus A E
Homaloptera lineata
Neonoemacheilus labeosus E
Schistura cf. alticrista D E C
Schistura kengtungensis
Schistura maepaiensis B D E E A
Schistura mahnerti D E E E
29
ตารางที่ 6 ปริมาณของปลาแตละชนิดที่พบในฤดูรอน (จํานวนตัวปลา E10 ตัว; D 10-49 ตัว; C 50-
100 ตัว; B 101-199 ตัว; A 200 ตัว) (ตอ)
Species
หวยแมแตะหลวง
ปาแต
สบแงะ
เกาะกลางน้ํา
หวยโกเฮ
หวยแมตี
หวยแหง
หวยอูลู
หวยผาแดง
หวยแปะกอ
หวยมะละอื
หวยแมสะเกิบ
มอกระโล
หวยอีนวล
หวยอูลู
หวยกกมอ
Schistura moeiensis E E B D E A A D
Schistura poculi C E D
Schistura sp.
Schistura vinciguerrae E D D
Acanthocobitis zonalternans
Cobitidae
Syncrossus berdmorei
Botia histrionica
Botia kubotai
Botia rostrata
Lepidocephalichthys hasselti E
Siluriformes/Amblycipitidae
Amblyceps foratum
Bagridae
Hemibagrus micropthalmus
Mystus cavasius
Sperata acicularis
Rita sacerdotum
Erethistidae
Erethistes maesotensis E E
Clariidae
Clarias batrachus
Schilbeidae
Eutropiichthys burmanicus E
Sisoridae
Bagarius yarrelli
Exostoma berdmorei E E D
Gagata gasawyuh E E E
Glyptothorax burmanicus E E E
Glyptothorax dorsalis D E C E E E E
Glyptothorax minimaculatus E E E E
Glyptothorax rugimentum D D E E
Glyptothorax sp.
Glyptothorax trilineatus E E E E
Beloniformes/Belonidae
Xenentodon cancilla
Mastacembeliformes/Mastacembelidae
Mastacembelus alboguttatus E
Mastacembelus armatus E E E D E E E
Mastacembelus tinwini E
Monopteridae
Monopterus albus
Perciformes/Cichlidae
Oreochromis niloticus
Channidae
Channa gachua E E E E E E E E E
Ambassidae
Parambassis notatus D E E
Parambassis vollmeri
30
ตารางที่ 7 ปริมาณของปลาแตละชนิดที่พบในฤดูฝน (จํานวนตัวปลา E10 ตัว; D 10-49 ตัว; C 50-100
ตัว; B 101-199 ตัว; A 200 ตัว)
Species
หวยจะโยโกร
หวยแมปว
ติดหนวยทหาร
สบยวม
หวยทากา
หวยแมสะเกิบ
หวยแมแตะ
หวยแมปาน
หวยแมปว
หวยโปเปอ
หวยแมตี
สบเมย
หวยแมปอ
หวยแมปอ
สบแงะ
หวยแมแตะ
สบยวม
Osteoglossiformes/Notopteridae
Notopterus notopterus
Anguilliformes/Anguillidae
Anguilla bengalensis
Cypriniformes/Cyprinidae
Bangana devdevi
E
Barilius ornatus E D E B D E E D D
E E E D D E
Cabdio morar
D E E
E
C
E
Chagunius baileyi
Crossocheilus burmanicus
E
Danio albolineatus
E
E D
Devario aequipinnatus
Devario annandalei
Devario malabaricus E
Folifer brevifilis E E
Garra salweenica
Garra nasuta C E C E E E D D D
Garra notata D
Hampala salweenensis D
Hypsibarbus salweenensis D D
Labeo chrysophekadion
Labeo dyocheilus E
Labeo pierrei E
Labeo sp. E
Leptobarbus hoevenii E
Mystacoleucus argenteus D D D E E E
Neolissocheilus stracheyi E E E
Osteobrama feae C D
Poropuntius chondrorhynchus E E E
Poropuntius hathe E D E
Poropuntius scapanognathus E D D E E E E
Poropuntius sp. E E D
Poropuntius cf. genyognathus
Puntius orphoides E E D E E E E E E E
Puntius stoliczkanus E E E E E E E E
Raiamas guttatus E E
Salmostoma sardinella E E E E E
Scaphiodonichthys burmanicus E E
Tor tambra E E E
Tor tambroides D E E
Balitoridae
Balitora burmanicus E E
Homaloptera lineata E E
Neonoemacheilus labeosus
Schistura cf. alticrista
Schistura kengtungensis E
Schistura maepaiensis E E E E D
Schistura mahnerti E E E
Schistura moeiensis E E E
31
ตารางที่ 7 ปริมาณของปลาแตละชนิดที่พบในฤดูฝน (จํานวนตัวปลา E10 ตัว; D 10-49 ตัว; C 50-100
ตัว; B 101-199 ตัว; A 200 ตัว) (ตอ)
Species
หวยจะโยโกร
หวยแมปว
ติดหนวยทหารสบยวม
หวยทากา
หวยแมสะเกิบ
หวยแมแตะ
หวยแมปาน
หวยแมปว
หวยโปเปอ
หวยแมตี
หนวยทหารสบยอม
หวยแมปอ
หวยแมปอ
สบแงะ
หวยแมแตะ
สบยวม
Schistura poculi E
Schistura sp1.
Schistura sp2. D E E
Schistura vinciguerrae D
Acanthocobitis zonalternans
Cobitidae
Syncrossus berdmorei
Botia kubotai
Botia rostrata
Lepidocephalichthys hasselti E E E D E E E
Amblycipitidae
Amblyceps foratum
Bagridae
Hemibagrus micropthalmus
Mystus cavasius
Sperata acicularis
Erethistidae
Erethistes maesotensis
Sisoridae
Bagarius yarrelli
Exostoma berdmorei
Gagata gasawyuh E E E
Glyptothorax burmanicus
Glyptothorax dorsalis E E E E
Glyptothorax minimaculatus
Glyptothorax rugimentum E E D
Glyptothorax sp.
Glyptothorax trilineatus E E
Beloniformes/Belonidae
Xenentodon cancilla
Mastacembeliformes/Mastacembelidae
Mastacembelus alboguttatus
Mastacembelus armatus E D D D E E E E E E E
Mastacembelus tinwini E
Monopteridae
Monopterus albus E
Perciformes/Cichlidae
Oreochromis niloticus
Gobiidae
Glossogobius giuris E E
Channidae
Channa gachua E D E E E E D E E E
Ambassidae
Parambassis notatus D D
Parambassis vollmeri
32
สัดสวนของกลุมปลา
จากการสํารวจในฤดูหนาวไมพบปลาในกลุมปลาหมูในบริเวณที่ทําการสํารวจ และพบ
กลุมปลาตะเพียนเปนกลุมหลักถึงรอยละ 56.83 รองลงมาเปนกลุมปลาคอรอยละ 23.06 (ภาพที่
4) สวนการสํารวจในชวงฤดูรอนะพบปลาในกลุมลาตะเพียและปลาคอ ในอัตราสวนที่
ใกลเคียงกัน โดยพบในปริมาณรอยละ 45.36 และ 46.16 ตามลําดับ (ภาพที่ 5) ซึ่งปลากลุมอื่นๆ
ที่พบรวมกันจะพบในปริมาณที่นอยกวามาก โดยกลุมปลาหมู ปลาหนัง ปลากะพง และกลุมปลา
อื่นๆ จะพบเพียงเล็กนอย ในฤดูฝน จะพบปลาในกลุมปลาตะเพียนมากที่สุด โดยพบมากถึงรอย
ละ 68.36 รองลงมาจะไดแกปลาในกลุมปลาคอ ปลากะพง ปลาหมู ปลาหนัง และปลาอื่นๆ รอ
ละ 10.84, 8.35, 3.57, 2.55 และ 2.96 ตามลําดับ (ภาพที่ 6) จากการสํารวจทุกฤดูกาลพบวา
สัดสวนที่มากที่สุดจะไดแกกลุมปลาตะเพียน รองลงมาจะไดแกปลาในกลุมปลาจิ้งจก ปลาหนัง
ปลากะพง และปลาอื่นๆ รอยละ 56.83, 23.06, 16.69, 2.19 และ 1.23 ตามลําดับ (ภาพที่ 7)
ภาพที่ 4 ปริมาณของปลาแตละกลุมที่พบในฤดูหนาว
ภาพที่ 5 ปริมาณของปลาแตละกลุมที่พบในฤดูรอน
33
ภาพที่ 6 ปริมาณของปลาแตละกลุมที่พบในฤดูฝน
ภาพที่ 7 ปริมาณปลาที่พบในแตละกลุม แยกตามฤดูกาล
กลุมปลาตามการกินอาหาร
การแบงกลุมของปลาตามลักษณะการกินอาหาร จะพบวาปลาที่พบสวนมากจะถูกจัดอยู
ในกลุมปลาที่กินสัตวน้ําไมมีกระดูกสันหลังเปนอาหาร (invertivorous) ซึ่งจะเปนกลุมหลักที่
สามารถพบไดจากการสํารวจ รองลงมาจะไดแก ปลากินทั้งพืชและสัตว (omnivorous), ปลากิน
พืช (herbivorous) และปลากินเนื้อ (carnivorous) ตามลําดับ โดยลักษณะการกินอาหารของปลา
ที่พบในแตละฤดูจะพบวามีอัตราสวนที่ไมแตกตางกัน (ภาพที่ 8) ในฤดูหนาวพบวามีอัตราสวนของ
ปลาที่กินสัตวน้ําไมมีกระดูกสันหลังเปนอาหารในปริมาณมากที่สุด โดยจะมีปริมาณที่มากถึงรอย
ละ 57.10 รองลงมาจะไดแก กลุมปลากินพืช ปลากินทั้งพืชและสัตว และปลากินเนื้อรอยละ
34
29.18, 7.22 และ 6.51 ตามลําดับ (ภาพที่ 9) ในชวงฤดูรอนจะพบวามีปลาที่กินสัตวน้ําไมมี
กระดูกสันหลังเปนอาหารอยูในอัตราสวนที่มากถึงรอยละ 88.43 รองลงมาจะไดแกปลาในกลุม
ปลากินทั้งพืชและสัตว ปลากินพืช และปลากินเนื้อ ซึ่งพบเพียงรอยละ 9.07, 4.71 และ 2.79
ตามลําดับ (ภาพที่ 10) ในฤดูฝนจะพบปลาที่กินอาหารแบบตางๆ อยูในปริมาณที่ใกลเคียงกัน
โดยกลุมที่พบมากที่สุดจะไดแกปลาในกลุมปลาที่กินสัตวน้ําไมมีกระดูกสันหลังเปนอาหาร
รองลงมาจะไดแก ปลากินทั้งพืชและสัตว ปลากินพืช และปลากินเนื้อ รอยละ 44.70, 21.40,
19.55 และ 14.34 ตามลําดับ (ภาพที่ 11) ซึ่งเมื่อนํามาเปรียบเทียบกัน ในแตละฤดู ก็พบวา
อัตราสวนของลักษณะการกินอาหารของปลาที่กินสัตวน้ําไมมีกระดูกสันหลังเปนอาหารจะมี
ปริมาณที่มากที่สุดในแตละฤดูกาล โดยในชวงฤดูฝนจะมีเปอรเซ็นตของปลาที่กินสัตวน้ําไมมี
กระดูกสันหลังเปนอาหารที่สูงที่สุดในรอบปที่ทําการสํารวจ รองลงมาจะไดแก ฤดูหนาว และฤดู
รอนรอยละ 83.43, 57.10 และ 44.7 ตามลําดับ (ภาพที่ 8)
ภาพที่ 8 ปริมาณปลาที่พบในแตละฤดู แยกตามลักษณะการกินอาหาร
ภาพที่ 9 อัตราสวนการกินอาหารของปลาที่พบในฤดูหนาว
35
ภาพที่ 10 อัตราสวนการกินอาหารของปลาที่พบในฤดูรอน
ภาพที่ 11 อัตราสวนการกินอาหารของปลาที่พบในฤดูฝน
องคประกอบของปลาตามลักษณะทางนิเวศวิทยา
การประเมินปริมาณผลผลิต อัตราสวนการกินอาหารของปลา คาดัชนีความหลากหลา
ทางชีวภาพ (biodiversity index) และคาดัชนีการกระจายตัว (eveness) พบวามีคาที่แตกตางกัน
ไปในแตละฤดูกาล
กําลังการผลิตปลาของแหลงน้ํา
กําลังการผลิตปลาของแหลงน้ําในชวงฤดูหนาว พบวาสถานีสบแงะมีกําลังการผลิตสู
ที่สุด เทากับ 351.2 Kg/Ha รองลงมาไดแก สถานีหวยแมปอ (141.99 Kg/Ha) และสถานีหวยแม
สะเกิบ (131.16 Kg/Ha) (ภาพที่ 12) สวนในกําลังการผลิตปลาของแหลงน้ําในชวงฤดูรอน พบว
ในสถานีหนวยทหารสบยวม จะมีคากําลังการผลิตที่สูงที่สุดโดยมีปริมาณมากถึง 74.08 Kg/Ha
รองลงมาจะไดแก สถานีหวยทากา (48.97 Kg/Ha) สถานีหวยแมปอ (48.27 Kg/Ha) (ภาพที่ 13)
และกําลังการผลิตปลาของแหลงน้ําในชวงฤดูฝน พบวาในสถานีจะโยโกร จะมีคากําลังการผลิตที่
36
สูงที่สุดโดยมีปริมาณมากถึง 74.08 Kg/Ha รองลงมาจะไดแก สถานีหวยทากา (48.97 Kg/Ha)
สถานีหวยแมปอ (48.27 Kg/Ha)
ภาพที่ 12 คากําลังการผลิตปลาของแหลงน้ําในสถานีสํารวจชวงฤดูหนาว
ภาพที่ 13 คากําลังการผลิตของแหลงน้ําในสถานีสํารวจปลาชวงฤดูรอน
37
ภาพที่ 14 คากําลังการผลิตของแหลงน้ําในสถานีสํารวจปลาชวงฤดูฝน
ภาพที่ 15 คากําลังการผลิตของแหลงน้ําในสถานีสํารวจปลาเปรียบเทียบในแตละฤดู
สัดสวนปลากินพืชตอปลากินเนื้อ (F/C ratio)
สัดสวนการกินอาหารจําพวกพืชตอเนื้อสัตว (F/C) เทากับ 0.69 โดยเมื่อเปรียบเทียบ
ระหวางสถานีเก็บตัวอยางพบวา อัตราสวนการกินอาหารจําพวกพืชตออาหารจําพวกเนื้อสัตว
ของปลาจากการสํารวจในฤดูหนาวพบวาสถานีหวยแมตีจะมีคาสัดสวนปลากินพืชตอปลากินเนื้อ
ที่สูงที่สุดเทากับ 5.34 รองลงมาจะไดแก สถานีเกาะกลางน้ําสาละวิน (2.55), สถานีผาแดง (1.68)
และสถานีสบแงะ (1.22) เปนตน (ภาพที่ 16) อัตราสวนการกินอาหารจําพวกพืชตออาหารจําพวก
เนื้อสัตวของปลาตัวอยางในชวงฤดูรอนพบวา ในสถานีหวยอีนวลจะมีคาอัตราสวนที่สูงที่สุด
เทากับ 5.84 รองลงมาจะไดแก สถานีหวยแมสะมาด (2.07), สถานีหวยแมแตะหลวง (1.37),
38
สถานีหวยสบแงะ (0.99) และสถานีสบเมย (0.53) เปนตน (ภาพที่ 17) สวนอีก 3 สถานี ไดแก
สถานีผาแดง สถานีหวยแหง และสถานีหวยอูลู ไมพบปลาในกลุมปลากินพืชจากการสํารวจในชวง
ฤดูดังกลาว
ภาพที่ 16 อัตราสวนการกินอาหารจําพวกพืชตออาหารจําพวกปลากินเนื้อสัตวในชวงฤดูหนาว
(โดยน้ําหนักปลา)
ภาพที่ 17 อัตราสวนการกินอาหารจําพวกพืชตออาหารจําพวกปลากินเนื้อสัตวในชวงฤดูรอน (โดย
น้ําหนักปลา)
39
ภาพที่ 18 อัตราสวนการกินอาหารจําพวกพืชตออาหารจําพวกปลากินเนื้อสัตวในชวงฤดูฝน (โดย
น้ําหนักปลา)
ในชวงฤดูฝนจะพบวา ในการสํารวจที่สถานี หนวยทหารสบยวม พบวามีอัตราสวนที่สูง
ที่สุด เทากับ 3.55 รองลงมาไดแก สถานีหวยแมตี (2.78) สถานีสบยวม (2.74) สถานีหวยแมปาน
(1.56) และสถานีหวยแมแตะ (1.38) เปนตน (ภาพที่ 18) โดยเมื่อนํามาทําการเปรียบเทียบ
คาเฉลี่ยของอัตราสวนการกินอาหารจําพวกพืช/อัตราสวนการกินอาหารจําพวกเนื้อ ของปลาในแต
ละฤดูพบวาในฤดูหนาวจะมีคาอัตราสวน F/C ที่สูงที่สุด มีคาเทากับ 1.36 รองลงมาจะไดแกฤดูฝน
มีคาเทากับ 1.13 โดยในฤดูรอนจะมีคา F/C ที่ต่ําที่สุด เทากับ 0.69 (ภาพที่ 19)
ภาพที่ 19 อัตราสวนการกินอาหารจําพวกพืชตออาหารจําพวกปลากินเนื้อสัตวเปรียบเทียบในแต
ละชวงฤดู (โดยน้ําหนักปลา)
40
ดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ
คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพจะทําการประเมินโดยใชวิธีการของ Shanon-weiner
ซึ่งพบวาในแตละชวงฤดู สถานีตางๆ ที่ทําการศึกษาจะมีคาดัชนีความหลากหลายที่แตกตางกัน
ออกไป ซึ่งจะขึ้นอยูกับลักษณะของแหลงน้ําที่ โดยคาที่ประเมินไดในแตละฤดูจะมีผลการประเมิน
ดังนี้
ฤดูรอนจะมีคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพมากเปนอันดับสองรองจากชวงฤดูฝน
โดยฤดูหนาวจะมีคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพที่ต่ําที่สุด (ภาพที่ 20) ในชวงฤดูหนาวจะ
เปนชวงเวลาที่มีคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพที่ต่ําที่สุดในรอบปที่ทําการสํารวจ โดยสถานี
ที่มีคาดัชนีความหลากหลายที่สูงที่สุดจะไดแก สถานีหวยแมปอ (1.02) รองลงมาจะไดแก สถานี
หวยแหง (0.68) สถานีหวยแมตี (0.60) สถานีสบแงะ (0.58) สถานีผาแดง (0.56) สถานีหวยผ
แดง (0.53) สถานีหวยแมสะเกิบ (0.52) สถานีหวยพะละอึ (0.51) สถานีเกาะกลางน้ําสาละวิน
(0.49) สถานีหวยฮูวาลู (0.36) และสถานีหวยแมปว (0.09) ตามลําดับ (ภาพที่ 21) โดยมีคาดัชนี
ความหลากหลายทางชีวภาพในแตละสถานีเก็บตัวอยางดังนี้ สถานีสบแงะจะเปนสถานีที่มีค
ดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพที่มากที่สุดในฤดูรอน โดยมีคาเทากับ 2.42 รองลงมาจะไดแก
สถานีเกาะกลางน้ํา (2.18) สถานีหวยกกมอ (1.91) สถานีหวยอีนวล (1.83) และสถานีหวยอูลู
(1.82) เปนตน (ภาพที่ 22) ฤดูฝนจะเปนชวงฤดูที่มีดัชนีความหลากหลายที่สูงที่สุด โดยมีคาที่
แตกตางกันไปตามสถานีดังนี้ สถานีหวยแมปวเปนสถานีที่มีคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ
ที่สูงที่สุด มีคาเทากับ 2.33 รองลงมาจะไดแก สถานีหวยแมปวริมน้ํา (2.31) สถานีหวยแมแต
(2.25) สถานีสบแงะ (2.13) สถานีหวยแมปอ (2.11) สถานีหนวยทหารสบยวม (2.07) สถานีหวย
แมตี (1.97) สถานีหนวยทหารสบยวม (1.94) สถานีหวยโปเปอ (1.80) สถานีหวยแมแตะ (1.79)
สถานีสบยวม (1.68) สถานีหวยแมปอ (1.48) และสถานีหวยทากา (0.88) ตามลําดับ (ภาพที่ 23)
ภาพที่ 20 คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพในแตละชวงฤดู
41
ภาพที่ 21 ดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพจากการเก็บตัวอยางในฤดูหนาว
ภาพที่ 22 ดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพจากการเก็บตัวอยางในฤดูรอน
ภาพที่ 23 ดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพจากการเก็บตัวอยางในฤดูฝน
42
คาดัชนีการกระจายตัว (Eveness)
ดัชนีการกระจายตัวจากการศึกษาพบวามีแนวโนมในทิศทางเดียวกันกับคาดัชนีควา
หลากหลายทางชีวภาพ โดยในฤดูฝนจะมีคาการกระจายตัวที่สูงที่สุดรองลงมาจะไดแก ฤดูรอน
และฤดูหนาว (ภาพที่ 24) ดัชนีการกระจายตัวของปลาในฤดูหนาวพบวา ดัชนีการกระจายตัวขอ
สถานีหวยแมปอจะมีคามากที่สุด เทากับ 0.38 รองลงมาจะไดแก สถานีหวยแหง (0.33) สถานีพะ
ละอึ (0.26) สถานีน้ําสาละวิน (ผาแดง) และสถานีสบแงะ (0.23) เปนตน (ภาพที่ 25) ดัชนีการ
กระจายกระจายตัวของปลาที่พบในฤดูรอนพบวาจากการเก็บตัวอยางปลาในสถานีหวยอีนว
พบวามีคาดัชนีการกระจายตัวที่สูงที่สุดเทากับ 0.88 รองลงมาจะไดแกสถานี สถานีสบแงะ (0.82),
สถานีเกาะกลางน้ํา (0.80), และสถานีหวยแมสะมาด (0.68) เปนตน (ภาพที่ 26) ดัชนีการกระจาย
ตัวของปลาในฤดูฝนพบวา สถานีหวยแมปวริมน้ําจะมีคาดัชนีการกระจายตัวที่มากที่สุดมีคา
เทากับ 1.00 รองลงมาจะไดแก สถานีสบยวม (0.94), สถานีสบแงะ (0.86), สถานีหวยแมปอ แล
สถานีหวยแมแตะ (0.85), สถานีหวยแมปว (0.84), สถานีหวยแมปาน (0.83) และสถานีหวยโ
เปอ (0.82) เปนตน (ภาพที่ 27)
ภาพที่ 24 ดัชนีการกระจายตัวจากการเก็บตัวอยางในรอบป
ภาพที่ 25 ดัชนีการกระจายตัวจากการเก็บตัวอยางในฤดูหนาว
43
ภาพที่ 26 ดัชนีการกระจายตัวจากการเก็บตัวอยางในฤดูรอน
ภาพที่ 27 ดัชนีการกระจายตัวจากการเก็บตัวอยางในฤดูฝน
44
คุณภาพน้ํา
ารเปลี่ยนแปลงองลักษณทางกายภาพที่สามารถวัดไดใรอบปพบวาไมมีควา
แตกตางกันมาก โดยคาความเปนกรด-ดา(pH) ในรอบปจะมีคาที่ไมแตกตงกันมาโดยมี
คาประมาณ 8 เชนเดียวกับคาปริมาณออกซิเนละลายน้ํา ที่มีคาในแตละชวงฤดูอยูในระดับที่
ใกลเคีงกัดยมีคาปริาณอกซิเละายน้ํา (DO)ระดับที่คอขางสูระาณ 7
มิลลิกรัมตอลิตร อุณหภูมิอากาศในแตละชวงฤดูที่ทําการสํารวจจะพบวา ในชวงฤดูฝน และฤดู
หนาวจะมีคาที่ใกลเคียงกัน โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 27.79 และ 27.32 องศาเซลเซียส ตามลําดั
โดยนชวงฤดูรอนจเปชวงที่มีอุณหภูมิอากาศที่สูงที่สุดโดยมีคาเฉลี่เทากั30.96งศ
เซลเซียส การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ําในรอบปจะมีแนวโนมที่ตางออกไป โดยน้ําในฤดูหนาว
จะมีอุณหภูมิน้ําเฉลี่ยที่สุดในรอบป มีคาเทากับ 24.33 องศาเซลเซียส รองลงมาจะไดแกฤดูฝนซึ่ง
จะมีอุณหภูมิอากาศที่ใกลเคียงกันกับอุณหภูมิน้ํา โดยมีคาอุณหภูมิน้ําเฉลี่ยเทากับ 27.13 องศ
เซลเซียส และในฤดูรอนจะมีคาอุณหภูมิน้ําเฉลี่ยที่สูงที่สุดมีคาเทากับ 28.5 องศาเซลเซียส โดยใน
ฤดูหนาวจะมีความแตกตางระหวางอุณหภูมิน้ํา และอุณหภูมิอากาศมากที่สุด รองลงมาจะไดแก
ฤดูรอน และฤดูฝน ตามลําดับ (ภาพที่ 28)
คาความเปนดางของน้ํา (Alkalinity) เฉลี่ยที่พบในแตละฤดูกาล พบวาในชวงฤดูหนาวจะ
มีคาความเปนดางของน้ําที่สูงที่สุด มีคาถึง 173.33 มิลลิกรัมตอลิตร สวนในฤดูรอน และฤดูฝนจะ
มีคาที่ใกลเคียงกัน โดยในฤดูรอนจะมีคาเทากับ 130.00 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูฝนมีคาเทากับ
121.43 มิลลิกรัมตอลิตร คาการนําไฟฟา (Electrical Conductivity (EC)) ในการศึกษาพบวา
ในชวงฤดูฝนจะมีคาการนําไฟฟาของแหลงน้ําที่สูงที่สุดมีคาเทากับ 336.67 µS/cm รองลงมาจะ
ไดแก ฤดูหนาว มีคาเทากับ 260.83 µS/cm และฤดูรอน 226.67 µS/cm (ภาพที่ 29) ความเร็วของ
กระแสน้ําในชวงฤดูฝนและฤดูรอนจะสูงกวาในชวงฤดูหนาว (ภาพที่ 30)
ภาพที่ 28 การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิน้ํา อุณหภูมิอากาศ pH และ ปริมาณออกซิเจนที่ละลาย
น้ําในแตละชวงฤดู
45
ภาพที่ 29 การเปลี่ยนแปลงของความเปนดาง ความสูง และคาการนําไฟฟาในแตละชวงฤดูกาล
ภาพที่ 30 การเปลี่ยนแปลงความเร็วกระแสน้ํา (m/sec) ในแตละชวงฤดู
46
วิจารณผลการทดลอง
ปลาที่เปนกลุมเดน และสามารถพบไดบอย ในสถานีที่เก็บตัวอยาง จะไดแก ปลาในกลุม
ปลาตะเพียนซึ่งจะเปนกลุมที่มีจํานวนตัวมากที่สุดจากการสุมเก็บตัวอยาง รองลงมาจะไดแกปลา
ในกลุมของปลาคอ ปลาจิ้งจก ซึ่งจะมีลักษณะแนวโนมแบบเดียวกันในทุกๆ ฤดู ของชวงป 2551 ที่
ทําการสํารวจและเก็บตัวอยาง ซึ่งในการสํารวจความหลากหลายของชนิดปลาในลุมน้ําสาละวิน
ไดเคยมีการศึกษาไวบางแลว โดยจากการศึกษาของสมโภชน และชวลิต (2541) ไดทําการศึกษา
พรรณปลาในระบบน้ําสาละวิน ของประเทศไทย โดยรายงานวาพบปลา 22 วงศ 109 ชนิด โดย
วงศที่พบมากที่สุดจะไดแกวงศปลาตะเพียน โดยพบ 25 สกุล 30 ชนิด รองลงมาคือวงศปลาค
ปลาผีเสื้อ พบ 6 สกุล 22 ชนิด วงศปลาแคพบ 7 สกุล 12 ชนิด สวนในรายงานการศึกษาครั้งนี้
พบวามีปลาทั้งหมด 82 ชนิด จาก 49 สกุล 18 วงศ และใกลเคียงกันกับรายงานของ Vidthayanon
et al. 2005 และอภินันท (2547) แตมีปลาหลายชนิดที่มีความแตกตางกันกับปลาที่พบในลุมน้ํา
เจาพะยแลลุมแมน้ําโขชนใรายงานขอ Tarnchalanukit และค(1980), Kottelat
(2001) ของการศึกษาปลาในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และการศึกษาในลุมน้ําแม
แตง สวนอภินันท (2546) ไดศึกษาความหลากหลายของชนิดปลาในเขตรักษาพันธุสัตวปาเชีย
ดาว และการศึกษากลุมปลาตะเพียนในเอเชียตะวันออกเฉียงใตของ Weber และ de Beaufort
(1916) และรายงานของ Smith (1945) ที่รายงานเกี่ยวกับปลาเมืองไทยรวมถึงของแมน้ําสาละวิ
นดวย
ในการศึกษาครั้งนี้ที่มีการพบปลาในกลุมปลาตะเพียนเปนสวนใหญ รองลงมาจะเปนปลา
ในกลุมปลาคอ เชนเดียวกับ อภินันท (2546) ซึ่งนาจะมีสาเหตุมาจากการอพยพของปลาในกลุมที่
มีการกินเนื้อเปนอาหาร ลงไปหาแหลงอาหาร ในแหลงน้ําที่ลึกกวา ทําใหปลาขนาดเล็กเชนปลาคอ
สามารถเพิ่มจํานวนและอนุบาลตัวออนไดมากขึ้น โดยจะกลับมาเปนอาหารของปลาในกลุมปลา
กินเนื้ออีกครั้งในฤดูฝนที่น้ําในแมน้ํามีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นดังจะเห็นไดจากแนวโนมที่เกิดขึ้น ซึ่งเมื่อมี
ปริมาณของปลากินเนื้อที่เพิ่มมากขึ้น ก็จะทําใหอัตราสวนปริมาณของปลากินแมลง ซึ่งเปนปล
กลุมที่มีขนาดเล็กมีอัตราสวนประชากรที่ลดลง สวนขอคดันีาง
ชีวภาพ (diversity index) ในฤดูฝนจะมีคาดัชนีความหลากหลายที่สูงที่สุด รองลงมาจะเปนชวง
ฤดูรอน และฤดูหนาว เนื่องมาจากสถานีที่เขาไปเก็บนั้นลึกเขาไปในลําหวย ประกอบกับการที่ปลา
หลายชนิดขึ้นไปวางไขในบริเวณลําหวย และมีลูกปลาที่หลากหลายชนิดกวา สวนคาดัชนีกา
กระจายตัว (evenness) จะมีแนวโนมเชนเดียวกับคาดัชนีความหลากหลาย โดยจะมีคามากที่สุด
ในชวงฤดูฝน รองลงในฤดูรอน และมีคานอยที่สุดในฤดูหนาว
47
นิดปลาในแมน้ําสาละวินจะมีความความคลายคลึงกับชนิดปลาในประเทศพมา และ
ประเทศอินเดีย (Jayaram, 1999; Misra, 1976; Talwar and Jhingran 1991) เชนปลาขิ้ง
(Chagunius baileyi), ปลไข(Osteobrama feae), ละาแคขี้มู (Erethistes
maesotensis) เปนตน พบเพียงบางชนิดที่อยูมีการแพรกระจายในเขตบริเวณลุมน้ําเจาพระยา
และลุมน้ําโขงดวยชปลาเคาดํ(Wallago attu), ลาฉลาด, และปาแคยักษ เปตน
(Kottelat, 2001; Rainboth, 1996) การกระจายของปลาตางถิ่นที่พบในลุมน้ําสาละวินจากการ
สํารวจพบปลานิล (Oreochromis niloticus) และปลาบา (Leptobarbus hoevenii) แตจากขอมูล
ที่มีอยูในารปลอยปาบางชนิชนปลาตะเพียทอ(Barbonymus altus), ลากระแ
(Barbonymus schwanenfeldi), ปลาสรอยขาว (Henicorhynchus siamensis) และปลายี่ส
เทศ (Labeo rohita) (หนังสือพิมพบานเมือง -- ศุกรที่ 17 กันยายน 2553) ซึ่งปลาเหลานี้อาจมี
ผลกระทบตอสภาพแวดลอมของระบบลุมน้ําสาละวินได ทั้งนี้สวนใหญปลาที่ปลอยเปนการปลอย
เพื่อเปาหมายที่จะเพิ่มแหลงอาหารโปรตีน แตจากการศึกษาครั้งนี้ยังไมพบปลาที่มาจากการปลอย
หรืออาจจะยังไมสามารถขยายพันธุไดมากพอ ในกรณีของปลานิลนั้นพบเฉพาะพื้นที่บางสวนของ
แมน้ําเมย ซึ่งเปนพื้นที่น้ําคอนขางนิ่งริมชายฝง ปลาที่พบเปนปลาขนาดเล็ก แสดงใหเห็นวาเปนลูก
ปลาที่เพิ่งมาไมนาน ดังนั้นปลานิลนาจะเปนปลาที่สามารถแพรขยายพันธุไดแลวในระบบแมน้ํ
สาละวิน สวนปลาบาที่พบก็เปนลูกปลาขนาดเล็กเชนกัน พบที่บริเวณสบเมย ซึ่งสันนิษฐานวา
นาจะเปนปลาที่มาจากการขยายพันธุเองตามธรรมชาติในระบบแมน้ําสาละวิน
กลุมปลาตะเพียน ปลาซิวขนาดเล็ก และปลาคอ เปนปลาที่พบเปนจํานวนตัวมาก ปล
เหลานี้เปนปลาที่อยูในระดับกลางของหวงโซอาหาร และสภาพพื้นที่เปนพื้นที่ของแหลงน้ําไห
แบงออกเปนสองสวน คือสวนที่เปนแมน้ําสาละวิน เปนบริเวณที่มีกระแสน้ํารุนแรงมาก ยากตอ
การจับปลา นอกจากการลงอวนของชาวประมง และทําไดเฉพาะในฤดูหนาว กับฤดูรอน สวนฤดู
ฝนมีปริมาณน้ําสูงมาก และยังมีซากของตนไม หรืออื่นๆ ไหลมากับน้ํา เกิดการทําลายอวนของ
ชาวประมงได ปลาที่จับไดจากการลงอวน เชนปลาเนื้อออน ปลากาดํา ปลาหวีเกตเปนตน ปลา
เหลานี้ไมชอบเขามาในลําหวยขนาดเล็ก สวนบริเวณที่สองเปนบริเวณที่เปนลําธารน้ําใส ที่ไหลล
สูแมน้ําสายหลัก ชนิดปลาที่พบในที่นี่มักเปนปลาที่อาศัยอยูในลําหวย หรือบางชนิดเปนปลาขนาด
เล็กที่เขามาเพื่อหากิน หรือเพื่อหลบภัย หรือเพื่อเขามาผสมพันธุวางไขในชวงหนาฝน แตสวนใหญ
แลวเปนปลาขนาดเล็ก สวนชนิดที่อยูอยางถาวรคือ ปลาที่ชอบกระแสน้ําไหลแรง และมีปริมาณ
ออกซิเจนคอนขางสูง เชนกลุมของปลาแคติดหิน
ในการศึกษาตลอดทั้งชวงระยะเวลาสามฤดูกาลนั้น พบวาในบางฤดูไมสามารถที่จะเก็บ
ตัวอยางจากบริเวณเดิมที่เคยเก็บได เชน ในบริเวณเกาะกลางน้ําที่สามารถพบไดในชวงฤดูฝนแลง
48
และดูหนาวเทานั้ สวนในดูฝนน้ํจะทวและลําหวยาขาบางแหงอาจะแหงงจนไม
สามารถเก็บตัวอยางไดเมื่อเขาสูชวงฤดูแลง ทําใหชวงที่มีการศึกษามีสถานีศึกษาที่แตกตางกัน
ออกไปตามความเหมาะสมของสภาพพื้นที่ ซึ่งสถานที่ทําการศึกษา
49
สรุปผลการทดลอง
ในการศึกษาไดทําการเก็บตัวอยางในบริเวณลุมน้ําสาละวิน ในเขตประเทศไทย โดยมีชวง
ระยะเวลาดําเนินการในแตละเดือนที่แตกตางกันไปโดยมีสถานีเก็บตัวอยางในแตละชวงฤดู โดย
จากการสํารวจพบปลาจํานวน 7 อันดับ 18 วงศ 49 สกุล 82 ชนิด โดยอันดับที่พบปลาจํานวนมา
ที่สุดจะไดแก ปลาในอันดับ Cypriniformes (กลุมปลาตะเพียน) พบทั้งสิ้น 3 วงศ ไดแก วงศปลา
ตะเพียน (Cyprinidae) ในวงศนี้จะพบปลาทั้งสิ้น 23 สกุล 38 ชนิด รองลงจะได แกปลาในวงศ
ปลาคอ (Balitoridae) พบปลาจํานวนทั้งสิ้น 4 สกุล 14 ชนิด และวงศสุดทายในอันดับนี้ ไดแก
ปลาในวงศปลาหมู (Cobitidae) โดยพบทั้งสิ้น 4 สกุล 7 ชนิด รองลงมาจะไดแกปลาในอันดั
Siluriformes (กลุมปลาหนัง) โดยพบทั้งสิ้น 8 วงศ โดยวงศที่พบวามีความหลากหลายของชนิด
มากที่สุดจะไดแกปลาในวงศ Sisoridae (วงศปลาแค) โดยจะพบปลา 5 สกุล 16 ชนิด รองลงมา
จะไดแกปลาในวงศ Bagridae โดยพบปลาจํานวน 3 สกุล 3 ชนิด ปลาในวงศ Siluridae จะพ
ปลา 2 สกุล 2 ชนิด สวนวงศอื่นๆ ไดแก วงศ Amblycipitidae, Erethistidae, Clariidae และวงศ
Schilbeidae จะพบเพียงวงศละ 1 ชนิด ปลาในอันดับ Perciformes พบปลาจํานวน 5 วงศ ไดแก
ศ Ambassidae 1 กุ 2 นิ สวนวศอื่ ไดก ศ Cichlidae, Gobiidae,
Channidae และ Belonidae จะพบเพียงวงศละ 1 ชนิด ปลาในอันดับ Synbranchiformes (ปล
ไหล ปลากระทิง) พบปลาทั้งสิ้นจํานวน สองวงศ ไดแก วงศ Mastacembelidae (ปลากระทิง) จ
พบปลาจํานวน 1 สกุล 3 ชนิด สวนวงศ Synbranchidae (ปลาไหล) จะพบปลา 1 สกุล 1 ชนิด
สวนปลาในอันดับ Osteoglossiformes และอันดับ Anguilliformes พบปลาเพียงอันดับละ 1 ชนิด
สัดสวนของปลาที่พบมากที่สุดจะไดแกกลุมปลา ตะเพียน รองลงมาจะไดแกปลาในกลุมปลาจิ้งจก
ปลาหนังลากะพง และปลาอื่นชนิดปลาที่มีความชุกชุมมากที่สุดคือปลาน้ําหมึ(Barilius
ornatus) รองลงเปลาคอแมน้ํา(Schistura moeiensis) ะปาคแมน้ําป
(Schistura maepaiensis)
เมื่อแบงกลุมของปลาตามลักษณะการกินอาหาร จะพบวาปลาที่พบสวนมากจะถูกจัดอยู
ในลุมปลาที่กินสัตวน้ําไมมีกะดูกสัหลัเปนอาห(invertivorous) ซึ่งจะปนลุมหลัที่
สามารถพบไดจากการสํารวจ รองลงมาจะไดแก ปลากินทั้งพืชและสัตว (omnivorous), ปลากิ
พืช (herbivorous) และปลากินเนื้อ (carnivorous) ตามลําดับ โดยลักษณะการกินอาหารของปลา
ที่พบในแตละฤดูจะพบวามีอัตราสวนที่ไมแตกตางกัน สวนกําลังการผลิตปลาของแหลงน้ํานั้น
พบวาใชวงฤดูนาวปนชวงที่มีคาสูงสุดละสถานีแะมีกําลังการผลิตสูงที่สุของทั้งหม
สัดสวนการกินอาหารจําพวกพืชตอเนื้อสัตว (F/C) เทากับ 0.69 สวนในแตละฤดูของปลาในแตละ
ฤดูพบวาในฤดูหนาวจะมีคาอัตราสวน F/C ที่สูงที่สุด มีคาเทากับ 1.36 รองลงมาจะไดแกฤดูฝน มี
50
คาเทากับ 1.13 โดยในฤดูรอนจะมีคา F/C ที่ต่ําที่สุด เทากับ 0.69 ฤดูรอนะมีคาดัชนีควา
หลากหลายทางชีวภาพมากเปนอันดับสองรองจากชวงฤดูฝน โดยฤดูหนาวจะมีคาดัชนีควา
หลาหลายทางชีภาพที่ต่ําที่สุด สวนดัชนีการกระจาตัวจากการศึกษาพบวามีแนวโนใน
ทิศทางเดียวกันกับคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ โดยในฤดูฝนจะมีคาการกระจายตัวที่สูง
ที่สุดรองลงมาจะไดแก ฤดูรอน และฤดูหนาว
ารเปลี่ยนแปลงองลักษณทางกายภาพที่สามารถวัดไดใรอบปพบวาไมมีควา
แตกตางกันมาก โดยคาความเปนกรด-ดาง ในรอบปจะมีคาที่ไมแตกตางกันมากและมีคาอยูใน
เกณฑดี เชนเดียวกับคาปริมาณออกซิเจนละลายน้ํา ที่มีคาในแตละชวงฤดูอยูในระดับที่ใกลเคียง
กัน โดยมีคาปริมาณออกซิเจนละลายน้ําในระดับที่คอนขางสูง อุณหภูมิอากาศในแตละชวงฤดูที่
ทําการสํารวจจะพบวา ในชวงฤดูฝน และฤดูหนาวจะมีคาที่ใกลเคียงกัน โดยในชวงฤดูรอนจะเปน
ชวงที่มีอุณหภูมิอากาศที่สูงที่สุด ในฤดูหนาวจะมีความแตกตางระหวางอุณหภูมิน้ํา และอุณหภูมิ
อากาศมากที่สุด รองลงมาจะไดแก ฤดูรอน และฤดูฝน คาความเปนดางของน้ํา เฉลี่ยที่พบในแต
ละฤดูกาล พบวาในชวงฤดูหนาวจะมีคาความเปนดางของน้ําที่สูงที่สุด สวนในฤดูรอน และฤดูฝน
จะมีคาที่ใกลเคียงกัน คาการนําไฟฟา ในการศึกษาพบวาในชวงฤดูฝนจะมีคาการนําไฟฟาของ
แหลงน้ําที่สูงที่สุด รองลงมาจะไดแก ฤดูหนาว และฤดูรอน ความเร็วของกระแสน้ําในชวงฤดูฝน
และฤดูรอนจะสูงกวาในชวงฤดูหนาว
51
เอกสารอางอิง
คูมือวิเคราะหพรรณปลา. 2533. คณะประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร. 273 หนา.
สมโภชน อังคะทวีวัฒน. 2523. ครอบครัวปลาน้ําจืดที่มีคุณคาของไทย. สถาบันประมงน้ําจืด
แหงชาติ, กรมประมง. กระทรวงเกษตรและสหกรณ.
หนังสือพิมพบานเมือง -- ศุกรที่ 17 กันยายน 2553
หลวงมัศยจิตรการ และ โชติ สุวัตถิ. 2495. ภาพปลา. กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ.
140 หนา.
อภินันท สุวรรณรักษ. 2546. ความหลากหลายของชนิดปลาในเขตรักษาพันธุสัตวปาเชียงดาว.
รายงาน ผลงานวิจัยมหาวิทยาลัยแมโจ. 62 หนา
อภินันท สุวรรณรักษ. 2547. สาละวิน. ว.แมโจปริทัศน. 5(5): 37-42
อภินันท สุวรรณรักษ. 2549. มนเสนหสาละวิน. นิตยสารสัตวเลี้ยง. 7(80): 125-130
อภินันท สุวรรณรักษ ทิพสุคนธ พิมพพิมล เทพรัตน อึ้งเศรษฐพันธุ จงกล พรหมยะ และสมชาติ
ธรรมขันธา. 2547. ความหลากหลายของชนิดปลาในเขื่อนแมงัดสมบูรณชล อําเภอแม
แตง จังหวัดเชียงใหม. รายงานผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยแมโจ. 48 หนา.
Davidson, A. 1975. Fish and Fish Dishes of Laos. Imprimerie Nationale Vientiane. 203 p.
Day, F. 1958. The Fishes of India: being A Natural History of the Fishes Known to Inhabit
the Seas and Fresh Waters of India, Burma, and Ceylon. Vol. I. text. William
Dawson & Sons Ltd., London. 788p.
Eschmeyer, W.N. 1990. Catalog of the Genera of Recent Fishes. California Academy of
Sciences. San Francisco. 697 p.
Jayaram, K.C. 1981. The Freshwater Fishes of India: A Handbook. Zoological Survey of
India. Calcutta. 475 p.
Jayaram, K.C. 1999. The Freshwater Fishes of the Indian Region, Narendra Publishing
House, New Delhi, xxvii + 551, Pls. xviii.
Jordan, D.S. 1963. The Genera of Fishes and A Classification of Fishes. Standford
University Press, Standford, California. 800 p.
Kottelat, M. 1990. Indochinese nemacheilines: A revision of nemacheiline loaches
52
(Pisces: Cypriniformes) of Thailand, Burma, Laos, Cambodia and South Viet
Nam. Verlag Dr.Friedrich Pfeil, Munchen. 262 p.
Kottelat, M. 2001. Fishes of Laos. WHT Publications (Pte) Ltd, Sri Lanka. 198 pp.
Misra, K.S. 1976. The Fauna of India and the Adjacent Countries: Pisces (second
edition) vol.III, Teleostomi: Cypriniformes; Siluri. The Government of India. 367 p.
Needham, J.G. and P.R. Needham. 1962. A guide to the study of fresh-water biology.
Holden-Day, Inc., San Francisco. pp. 66-103.
Nelson, J. S. 2006. Fishes of the World. John Wiley and Sons, Inc. New York. 4th edition,
Rainboth, W.J. 1996. Fishes of the Cambodian Mekong. FAO Species Identification Field
Guide for Fishery Purposes. Food And Agriculture Organization Of The United
Nations, Rome.
Roberts, T.R. 1986. Systematic Review of the Mastacembelidae or spiny eels of Burma
and Thailand, with Description of Two New Species of Macrognathus. Japan
Journal of Ichthyology. vol. 33, No. 2. pp. 95-109.
. 1989. The Freshwater Fishes of Western Borneo (Kalimantan Barat,
Indonesia). California Academy of Sciences. pp. 48-49.
Roberts, T.R. 1992. Systematic revision of the Old World freshwater fish family
Notopteridae. Ichthyol. Explor. Freshwaters, Vol. 2, No. 4, pp.361-383.
Smith, H.M. 1945. The Fresh- Water Fishes of Siam, or Thailand. United States
Government Printing Office, Washington. 621 p.
Sufi, S.M.K. 1956. Revision of the Oriental fishes the Family Mastacembelidae.
Zoological Survey Department, Government of Pakisidn, Karachi, Pakistan. pp.
101-105.
Suvatti, C. 1950. Fauna of Thailand. Department of Fisheries, Kasetsart University.
Bangkok. pp. 202-446.
Suvatti, C. 1981. Fishes of Thialand. Royal Institute Thailand, Bang kok.
Taki, Y. 1974. Fishes of the Lao Mekong Basin. United States Agency for International
53
Development Mission to Laos, Agriculture Division. 232 p.
Talwar, P.K. and A.G. Jhingran. 1991. Inland fishes of India and adjacent countries. vol
1. A.A. Balkema, Rotterdam. 541 p.
Weber, M. and L. F. Beaufort. 1916. The Fishes of the Indo- Australian Archipelago III
Ostariophysi: Cyprinoidea, Apodes, Synbranchi. E.J. Brill Ltd. 238p.
http://www.fishbase.org/ 2010
54
ภาคผนวก
55
ตารางผนวกที่ 1 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีน้ําสาละวิน (ผาแดง)
Species Length (cm.) Weight (g.) Total W. (g.) N
Cabdio morar 4.1 – 11.2 0.5 – 10.5 107.1 37
Barilius ornatus 2.7 – 9.3 0.1 – 6.8 32.8 11
Crossocheilus burmanicus 11.8 – 15.1 13.6 – 22.7 79.7 5
Garra notata 8.3 6 6 1
Mystacoleucus argenteus 4.8 – 6.1 0.8 – 2.0 5.1 4
Neolissocheilus stracheyi 13.7 – 16.1 32.4 – 47.7 80.1 2
Raiamas guttatus 5.2 – 7.3 0.9 – 2.7 11.7 7
Tor tambroides 12.7 – 22.5 19.0.1 – 137.3 156.4 2
Neonoemacheilus labeosus 4.5 0.4 0.4 1
Gagata gasawyuh 7.2 2.4 2.4 1
Glyptothorax dorsalis 6.5 1.4 1.4 1
Mastacembelus alboguttatus 23.2 30.9 30.9 1
56
ตารางผนวกที่ 2 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีเกาะกลางน้ําสาละวิน
Species Length (cm.) Weight (g.) Total W. (g.) N
Cabdio morar 10.8 – 10.9 9.4 – 10.0 19.4 2
Crossocheilus burmanicus 11.1 – 13.3 13.4 – 20.0 143.4 9
Garra salweenica 4.3 – 7.6 1.0 – 4.7 18.1 11
Garra nasuta 4.5 – 5.5 0.8 – 1.5 6.5 5
Garra notata 4.0 – 11.2 0.7 – 17.3 37.5 18
Labeo dyocheilus 29 308.8 308.8 1
Labeo pierrei 7.5 – 8.7 3.7 – 5.5 9.3 2
Neonoemacheilus labeosus 3.4 – 4.9 0.2 – 0.8 2.5 5
Schistura moeiensis 3.6 – 6.0 0.2 – 1.3 49.2 73
Schistura cf. paucicincta 3.3 – 3.9 0.1 – 0.7 1.4 4
Schistura moeiensis 2.9 – 6.2 0.5 – 0.6 48.8 76
Schistura sp.1 4.5 – 5.0 0.4 – 0.5 1.3 3
Schistura vinciguerrae 3.5 – 5.4 0.4 – 0.9 20.7 40
Gagata gasawyuh 5.5 – 10.5 1.3 – 8.4 31.2 7
Glyptothorax dorsalis 4.5 – 7.5 0.5 – 2.2 14.5 12
Glyptothorax micromaculatus 6.5 – 10.6 1.8 – 5.9 14 4
Mastacembelus armatus 8.6 2.5 2.5 1
57
ตารางผนวกที่ 3 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีหวยผาแดง
Species Length (cm.) Weight (g.) Total W. (g.) N
Barilius ornatus 3.8 – 13.5 0.4 – 23.9 418.6 59
Garra salweenica 3.7 – 5.5 0.5 – 1.7 14.3 13
Hampala salweenensis 10.6 – 11.0 11.1 – 12.3 23.4 2
Labeo dyocheilus 6.6 – 10.2 2.4 – 10.1 66.1 13
Neolissocheilus stracheyi 9.8 – 13.0 9.4 – 25.6 45.5 3
Raiamas guttatus 2.8 – 7.7 0.1 – 2.8 4.7 4
Scaphiodonichthys burmanicus 3.5 – 4.4 0.3 – 0.7 1 2
Tor tambroides 4.3 – 11.2 0.7 – 15.5 50.9 6
Eutropiichthys burmanicus 12.3 9.5 9.5 1
Gagata gasawyuh 6.3 1.6 1.6 1
Channa gachua 16.0 – 24.2 43.9 – 129.4 171.8 2
Xenentodon cancila 14.8 4 4 1
Notopterus notopterus 18.3 44 44 1
ตารางผนวกที่ 4 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีสบแงะ
Species Length (cm.) Weight (g.) Total W. (g.) N
Barilius ornatus 5.6 – 10.4 1.4 – 10.6 27.5 4
Crossocheilus burmanicus 11.9 – 13.5 12.5 – 16.6 46.4 3
Folifer brevifilis 16.7 41.1 41.1 1
Garra notata 6.3 – 9.2 2.4 – 8.5 10.9 2
Labeo dyocheilus 15.6 – 17.5 34.7 – 51.5 261.9 7
Mystacoleucus argenteus 8.6 – 9.0 6.1 – 6.3 12.4 2
Neolissocheilus stracheyi 13.0 – 33.4 16.4 – 440.9 467.3 2
Poropuntius scapanognathus 12.6 – 27.0 17.6 – 236.0 1,046.20 18
Puntius orphoides 6.8 3.3 3.3 1
Scaphiodonichthys burmanicus 17.3 50.8 50.8 1
Schistura mahnerti 5.7 1.1 1.1 1
Bagarius yarrelli 19.0 – 54.0 26.9 – 807.4 1,527.20 4
Eutropiichthys burmanicus 16.2 15.9 15.9 1
58
ตารางผนวกที่ 5 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีแมสะเกิบ
Species Length (cm.) Weight (g.) Total W. (g.) N
Barilius ornatus 3.7 – 10.5 0.5 – 12.2 245.2 110
Garra notata 5.0 – 7.0 1.4 – 4.3 18.7 7
Labeo dyocheilus 11.3 17.2 17.2 1
Labeo pierrei 6.7 – 11.5 2.8 – 15.8 361.4 59
Neolissocheilus stracheyi 12.0 – 15.1 20.5 – 41.2 243.9 7
Poropuntius scapanognathus 11.0 – 12.6 13.8 – 22.6 36.4 2
Puntius orphoides 7.3 – 11.2 5.3 – 18.7 74.5 7
Scaphiodonichthys burmanicus 9.4 – 12.0 8.1 – 16.7 48.9 4
Tor tambroides 4 0.6 0.6 1
Schistura reidi 3.7 – 5.7 0.4 – 1.5 3.3 4
Glyptothorax dorsalis 5.5 – 9.5 1.1 – 4.6 37.3 15
Glyptothorax major 5.6 – 10.4 1.2 – 8.5 68.3 19
Glyptothorax sp. 5.8 – 10.2 1.7 – 9.9 93.6 25
Channa gachua 10.3 9.8 9.8 1
Mastacembelus armatus 13.7 – 18.7 6.3 – 19.7 52.5 4
59
ตารางผนวกที่ 6 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีแมปอ
Species Length (cm.) Weight (g.) Total W. (g.) N
Barilius ornatus 3.3 – 11.8 0.3 – 16.4 89.7 42
Garra salweenica 6.8 – 9.0 4.0 – 9.8 59.7 10
Garra nasuta 5.2 – 7.4 1.3 – 4.6 26.1 10
Garra notata 4.9 – 12.3 1.4 – 17.9 268.5 57
Labeo pierrei 7.5 – 11.5 3.8 – 14.4 285.3 27
Neolissocheilus stracheyi 12.5 – 14.7 21.6 – 41.6 102.8 3
Scaphiodonichthys burmanicus 4.3 – 9.1 0.6 – 7.0 14.2 9
Schistura maepaiensis 3.0 – 3.8 0.1 – 0.5 2.3 7
Schistura mahnerti 4.5 – 5.8 0.7 – 2.2 2.9 2
Glyptothorax dorsalis 5.2 – 7.6 0.9 – 3.1 49.9 29
Glyptothorax major 4.8 – 10.5 0.9 – 7.8 364.5 135
Glyptothorax sp. 6.0 – 11.5 1.2 – 11.9 59.7 15
Glyptothorax trilineatus 5.0 – 7.5 1.1 – 3.7 16.9 8
Mastacembelus tinwini 17.2 – 22.5 13.3 – 23.3 77.4 5
60
ตารางผนวกที่ 7 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีหวยฮูวาลู
Species Length (cm.) Weight (g.) Total W. (g.) N
Danio albolineatus 3.5 – 4.3 0.4 – 0.7 2.9 5
Folifer brevifilis 2.5 – 7.4 0.1 – 3.9 22.3 11
Garra nasuta 5.6 – 6.7 2.0 – 3.5 8.2 3
Poropuntius deauratus 2.4 – 5.5 0.1 – 1.4 15.6 27
Puntius orphoides 6.8 3.7 3.7 1
Puntius stoliczkanus 5.3 – 5.5 2.1 – 2.2 4.3 2
Scaphiodonichthys burmanicus 2.7 – 14.5 0.1 – 39.8 130 55
Tor tambroides 2.7 – 6.0 1.0 – 2.0 12.7 8
Balitora burmanica 3.6 – 4.4 0.3 – 0.6 5.3 11
Homaloptera lineata 3.5 – 5.5 0.4 – 1.8 46 60
Schistura alticrista 3.2 0.3 0.3 1
Schistura mahnerti 3.9 – 7.2 0.5 – 4.0 51.9 24
Schistura sp. 3.0 – 8.2 0.2 – 5.4 20 15
Glyptothorax major 6.9 – 10.4 2.4 – 8.7 190.5 39
Glyptothorax sp. 8.2 5.8 5.8 1
Glyptothorax trilineatus 7.5 – 8.8 4.9 – 7.5 12.4 2
Channa gachua 3.6 – 11.0 0.4 – 12.5 24.6 5
Mastacembelus armatus 14.0 – 32.0 7.2 – 74.8 259.7 14
Mastacembelus tinwini 13.9 – 16.3 7.5 – 11.2 27.3 3
ตารางผนวกที่ 8 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีหวยพะละอึ
Species Length (cm.) Weight (g.) Total W. (g.) N
Barilius ornatus 2.3 – 12.7 0.1 – 21.4 238.4 48
Scaphiodonichthys burmanicus 4.0 – 5.5 0.6 – 1.8 5.1 4
Schistura mahnerti 4.0 – 4.7 0.6 – 0.9 5.9 9
Schistura moeiensis
2.4 – 9.5 0.1 – 7.6 319 202
Glyptothorax major 5.4 – 8.0 1.0 – 3.4 72.3 36
Glyptothorax trilineatus 4.7 – 5.5 1.1 – 1.3 2.4 2
Channa gachua 4.8 – 7.3 0.8 – 3.0 5.1 3
61
ตารางผนวกที่ 9 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีหวยแหง
Species Length (cm.) Weight (g.) Total W. (g.) N
Bangana devdevi 10.6 14.3 14.3 1
Barilius ornatus 4.5 – 10.0 0.8 – 9.5 12.1 3
Garra nasuta 4 0.6 0.6 1
Neolissocheilus stracheyi 3.2 – 18.0 0.3 – 68.7 159.4 13
Schistura sp. 3 0.1 0.1 1
Exostoma berdmorei 2.3 – 9.0 0.1 – 6.5 76.1 35
Glyptothorax dorsalis 4.7 – 9.5 0.7 – 6.0 9.6 3
Channa gachua 4.3 – 16.5 0.6 – 44.2 151.3 11
ตารางผนวกที่ 10 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีหวยแมตี
Species Length (cm.) Weight (g.) Total W. (g.) N
Barilius ornatus 3.5 0.2 0.2 1
Garra notata 4.4 – 10.2 0.8 – 10.0 92 26
Labeo dyocheilus 2.8 – 7.6 0.1 – 4.3 5.4 6
Neolissocheilus stracheyi 2.6 – 10.0 0.1 – 9.7 20.6 8
Scaphiodonichthys burmanicus 3.9 – 11.1 0.4 – 13.8 95.3 49
Tor tambroides 9.1 7.1 7.1 1
Schistura cf. alticrista 4.4 – 7.0 0.3 – 2.9 12.5 14
Schistura vinciguerrae 4.8 0.9 0.9 1
Exostoma berdmorei 3.7 – 5.0 0.5 – 0.9 1.4 2
Glyptothorax dorsalis 6 1.2 1.2 1
Channa gachua 5.8 1.6 1.6 1
Mastacembelus tinwini 25.2 23.5 23.5 1
62
ตารางผนวกที่ 11 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูหนาวบริเวณสถานีหวยแมปว
Species Length (cm.) Weight (g.) Total W. (g.) N
Barilius ornatus 3.0 – 12.0 0.2 – 12.1 67.8 29
Danio albolineatus 4 0.3 0.3 1
Crossocheilus burmanicus 6.5 – 6.9 2.0 – 2.4 11.1 5
Garra salweenica 5.5 – 7.6 1.7 – 4.4 27.9 10
Garra nasuta 6.8 3.9 3.9 1
Garra notata 5.8 – 7.1 2.4 – 3.9 12.8 4
Labeo pierrei 7.4 – 12.0 3.4 – 17.1 60.4 6
Neolissocheilus stracheyi 15.0 – 19.5 38.9 – 73.9 167 3
Poropuntius chondrorhynchus 3.1 – 12.0 0.1 – 16.0 60 8
Poropuntius sp. 1 9 9.9 9.9 1
Scaphiodonichthys burmanicus 2.2 – 10.9 0.1 – 12.8 23.1 18
Mystacoleucus argenteus 9.6 8.8 8.8 1
Balitora burmanica 3.7 0.1 0.1 1
Schistura mahnerti 4.3 – 5.0 0.5 – 0.8 3.9 6
Schistura cf. alticrista 4.4 – 5.6 0.5 – 1.3 3 4
Schistura poculi 4.1 – 5.7 0.4 – 1.5 36.4 46
Schistura vinciguerrae 3.0 – 4.1 0.2 – 0.5 105 32
Glyptothorax dorsalis 4.6 – 8.7 0.6 – 3.8 67.1 47
Glyptothorax rugimentum 4.6 – 8.5 0.3 – 13.3 53.1 28
Glyptothorax burmanicus 4.9 – 10.1 0.7 – 5.8 66.2 26
Glyptothorax trilineatus 4.2 – 6.8 0.4 – 2.6 14 13
Channa gachua 4.5 – 8.3 0.6 – 4.8 5.4 2
Mastacembelus armatus 12.9 – 26.0 4.1 – 40.9 45 2
63
ตารางผนวกที่ 12 ชนิดปลาที่พบในการสํารวจชวงฤดูรอนบริเวณสถานีหวยแมแตะหลวง
Species Length (cm.) Weight (g.) Total W (g.) N
Cabdio morar 5.1-9.1 1.2-7.0 34.4 19